ก จกรรม ส งเสร ม ความ กล า แสดงออก

รายงานวจิ ยั ในช้ันเรียน

เร่ือง

การเสริมสร้างความม่นั ใจในการแสดงออกของเดก็ ปฐมวัย เตรียมอนุบาล 1 (อายตุ ำ่ กวา่ 3 ปี)

ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ บา้ นถอ่ นพัฒนา โดยใช้กิจกรรมพัฒนาทกั ษะ ๔ ประการ ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

นางจรุวรรณ์ สุนาพรม ครูชำนาญการ

ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เล็กบ้านถ่อนพฒั นา สงั กัดองค์การบรหิ ารส่วนตำบลเชงิ ชุม ตำบลเชงิ ชมุ อำเภอพรรณานคิ ม จังหวดั สกลนคร

รายงานการวิจยั ในชั้นเรียน

--------------- ชอ่ื เรือ่ ง การเสริมสรา้ งความมั่นใจในการแสดงออกของเด็กปฐมวยั เตรียมอนุบาล 1 (อายตุ ่ำกวา่ 3 ปี)

ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ บา้ นถ่อนพฒั นา โดยใชก้ ิจกรรมพัฒนาทักษะ ๔ ประการ ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563

ผวู้ ิจัย นางจรวุ รรณ์ สุนาพรม ตำแหนง่ ครชู ำนาญการ ศูนย์พัฒนาเด็กเลก็ บ้านถ่อนพัฒนา สังกัดองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลเชิงชุม อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร

ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เป็นสถานศึกษาแห่งแรก และเป็นสถานแหล่งรวมเด็กในระดับปฐมวัย ซ่ึงมาจาก

พน้ื ฐานทางครอบครัวท่ีมีการอบรมเลี้ยงดูทแี่ ตกต่างกนั ปญั หาที่เกดิ ข้ึนในศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ จึงมมี าก ปัญหาหนึ่ง ทโี่ ดดเด่น ท่ีครูผู้สอน/ครูผู้ดูแลเด็ก สามารถสังเกตเห็นได้ และทุกศูนย์พัฒนาเด็กจะต้องพบเจอ ก็คือ ปัญหาการ ปรับตัวของเด็ก เด็กบางคน หรือหลายคนไม่สามารถที่จะเรียนหรือเล่นร่วมกับเพ่ือนๆ ได้ ปัญหานี้หากไม่ได้รับ การแก้ไขจากผู้ท่ีเก่ียวข้อง โดยเฉพาะครูประจำชั้นแล้ว จะทำให้เกิดปญั หาอ่ืนอีกมากมายตามมา เช่น พัฒนาการ ของเด็ก การเรียนรขู้ องเด็ก เป็นต้น

ความม่ันใจของเด็ก เป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์อย่างหนึ่งของบุคคล ซ่ึงพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ ได้บัญญัติแนวทางการปฏิรปู การศึกษา ไม่ว่าจะเป็นปรัชญา หรือความมุ่งหมายใน การจัดการศึกษา จะต้องเปลี่ยนไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ท้ังร่างกาย และจิตใจ ความรู้และ คุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข สำหรับใน หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ได้กำหนดไว้ในแนวทางการจัดประสบการณ์ ข้อท่ี ๕ คือ “จัด ประสบการณ์ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กอื่น กับผู้ใหญ่ ภายใต้สภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ในบรรยากาศท่ี อบอุ่น มีความสุข และเรียนรู้การทำกิจกรรมแบบร่วมมือในลักษณะต่าง ๆกัน” ซึ่งจะเห็นได้ว่าแนวทางการจัด การศึกษาของรัฐ มุ่งเน้นให้เห็นความสำคัญของการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ต้ังแต่เด็กในระดับปฐมวัย จัด กิจกรรมหรือประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีความมั่นใจในตนเอง รู้จักปรับตัวเข้าหากัน ท้ังนี้ ครูผู้สอนจะต้อง คำนึงถงึ วุฒภิ าวะ หรอื ความพร้อมทางพัฒนาการตา่ ง ๆ ของเดก็ ไปด้วย

จากการสังเกตพฤติกรรมของเด็ก ชั้นเตรียมอนุบาลปีที่ ๑ (อายุต่ำกว่า 3 ปี) ในภาคเรียนท่ี 2/2563 ท่ีตนเองรับผิดชอบ พบว่า มีเด็กชาย จำนวน 1 คน และเด็กหญิง จำนวน 2 คน ที่มีพฤติกรรมขาดความมั่นใจ กล่าวคือเด็กไม่กล้าแสดงออก ไม่กล้าพูด ไม่เป็นตวั ของตัวเอง ร่วมกิจกรรมหน้าช้ันมีอาการเขินอาย บางครงั้ ไม่มี ปฏิกริ ิยาโต้ตอบใด ๆ เลย ขาดความเชื่อมัน่ ในตวั เองอาจเน่อื งมาจากสาเหตุ ดังนี้

๑. สาเหตุจากครผู ู้สอน - ครูอาจจะจัดกิจกรรมเก่ียวกับการสง่ เสริมความมั่นใจน้อยเกินไป - ครอู าจจะใหค้ วามสำคัญกบั เด็กท่ีกลา้ แสดงออกมากเกินไป

๒. สาเหตุจากเดก็ - เดก็ มาจากครอบครวั ท่ีอาศยั อยู่ผ้ปู กครองที่ไมใ่ ชบ่ ิดา มารดา ซง่ึ เด็กกลมุ่ นี้ส่วนใหญจ่ ะขาด ความมนั่ ในใจตวั เอง - พัฒนาการดา้ นตา่ ง ๆ ของเดก็ อาจจะยงั ไม่พร้อมท่ีจะแสดงออกทางความมั่นใจ

จากสาเหตุท่ีกล่าวอ้าง ไม่ว่าปัญหาที่เด็กขาดความม่ันใจนี้จะเกิดจากสาเหตุใดก็ตาม หากไม่ได้รับการ แก้ไข จะส่งผลให้เด็กขาดพ้ืนฐานท่ีสำคัญของการพัฒนาด้านสตปิ ัญญาและความคิดสร้างสรรค์ ไม่กล้าแสดงออก

ขาดประสิทธิภาพในการแก้ปัญหา ท้ังด้านการเรียนและการดำเนินชีวิต ไม่กล้าตัดสินใจ พร้อมที่จะเป็นผู้ตาม มากกว่าผู้นำ การที่ครูผู้สอนจะนำเอากิจกรรม “เด็กสนทนากับครู” “หนู ๆ พูดไมค์”“ มั่นใจเพื่อนร่วมห้อง” “รับประทานอาหารร่วมกัน” อาจจะเป็นแนวทางหน่ึงที่จะช่วยเสริมสร้างและพัฒนาความมั่นใจในกลุ่มเด็กที่มี ปัญหา ให้เป็นไปในทางท่ีดีข้ึน เพราะการท่ีเด็กได้สนทนาร่วมกับครูผู้สอนบ่อย ๆ เด็กจะเกิดความอบอุ่น สนิท สนม กล้าคิด กล้าพูดมากข้ึน เด็กปฏิบัติกิจกรรมและรับประทานอาหารร่วมกัน โดยให้ความสำคัญกับเด็กที่ด้อย โอกาสมากขึ้น จะทำให้เด็กเหล่าน้ันเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง กล้าพูด กล้าแสดงออกมากขึ้น สุดท้ายก็ พฒั นาการแสดงออกทางภาษาด้วยการให้พูดปากเปล่าหรือพูดผ่านไมโครโฟนหน้าช้ันเรียนบ่อย ๆ เด็กกจ็ ะซึมซับ ความเช่ือม่ันไปทีละเล็กละน้อย จนในท่ีสุดเด็กจะเกิดความเช่ือมั่นในตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ มีความสุขกับ การเรียนรูต้ ลอดไป

คำถามการวิจัย กิจกรรม “เด็กสนทนากับครู”, “หนู ๆ พูดไมค์”, “มั่นใจเพ่ือนร่วมงาน”, “รับประทานอาหารร่วมกัน”

สามารถพฒั นาความมัน่ ใจในตนเองของเด็กปฐมวัยได้หรือไม่

วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจัย เพอื่ พัฒนาความม่นั ใจในตนเองของเดก็ ปฐมวัย โดยใช้กจิ กรรมพัฒนาทักษะ ๔ ประการ คอื “เด็ก

สนทนากับคร”ู , “หนู ๆ พดู ไมค์”, “ม่นั ใจเพื่อนร่วมงาน”, “รับประทานอาหารร่วมกนั ”

สมมุติฐานของการวจิ ยั กิจกรรม “เด็กสนทนากับครู”, “หนู ๆ พูดไมค์”, “ม่ันใจเพื่อนร่วมงาน”, “รับประทานอาหารร่วมกัน”

สามารถพัฒนาความม่นั ใจในตนเองของเด็กปฐมวัยได้ดยี ง่ิ ขึ้น

ขอบเขตของการวจิ ัย ๑. กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ในการวิจัย คือ เด็กชายและเด็กหญิง ชั้นเตรียมอนุบาล ๑ ภาคเรียนที่ 2

ปีการศึกษา ๒๕6๓ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านถ่อนพัฒนา สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเชิงชุม อำเภอพรรณา นคิ ม จังหวดั สกลนคร จำนวน 3 คน

๒. ตัวแปรท่ีศกึ ษา ๒.๑ ตวั แปรต้น ได้แก่ กิจกรรม “เดก็ สนทนากับครู”, “หนู ๆ พดู ไมค์”, “มั่นใจเพ่อื นร่วมงาน”,

“รับประทานอาหารรว่ มกนั ” ๒.๒ ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ ความมน่ั ใจในตนเองของเด็กปฐมวัย

๓. ระยะเวลาในการศกึ ษาวิจัย ใชเ้ วลา ๒ เดือน (เดือนมกราคม – เดอื นกมุ ภาพันธ์ ๒๕64)

นยิ ามศัพท์เฉพาะ ๑. ความมัน่ ใจในตนเอง หมายถงึ การกล้าตดั สินใจทำสง่ิ ใดสิง่ หนึ่งดว้ ยความมนั่ ใจ โดยผู้วจิ ัย

ได้แบง่ ความมั่นใจในตนเองออกเป็น ๓ ด้าน ได้แก่ ๑.๑ การกล้าแสดงออก ได้แก่ ความสามารถในการแสดงออกของเด็ก ซ่ึงสังเกตจากการ

กล้าพูด กลา้ แสดงทา่ ทาง กลา้ ลงมอื กระทำ ๑.๒ การเป็นตัวของตัวเอง ไดแ้ ก่ ความสามารถในการปฏิบัตติ นที่แสดงใหเ้ ห็นถงึ การกล้า

ตดั สนิ ใจ รูจ้ กั แกป้ ญั หาท่ีเกดิ ข้นึ ในขณะน้ันด้วยตนเอง พึงพอใจ ยอมรับการกระทำของตนเอง และ ต้งั ใจทำส่งิ ต่าง ๆ ให้สำเรจ็

๑.๓ การปรบั ตวั เขา้ กับสภาพแวดลอ้ ม ได้แก่ ความสามารถในการรว่ มกิจกรรมกบั ครูผ้สู อน และเพือ่ น ๆ ดว้ ยความเปน็ มติ ร ร้จู กั ช่วยเหลอื ยอมรบั สิ่งใหม่ ๆ และปฏิบตั ติ ามกตกิ าของสว่ นรวม ๒. กิจกรรมพฒั นาทกั ษะ หมายถึง กิจกรรมทค่ี รผู สู้ อนไดค้ ดั สรร ท่จี ะนำมาให้เดก็ ไดฝ้ กึ ปฏิบัติ เพอื่ พฒั นาทักษะความม่นั ใจในตนเองของเด็ก ประกอบด้วย ๔ กิจกรรม ดงั น้ี

๒.๑ เด็กสนทนากับครู หมายถึง กจิ กรรมทค่ี รูพยายามทจ่ี ะจัดเวลาและโอกาสสนทนากับ เด็ก ส่วนใหญจ่ ะใช้เวลาเชา้ ก่อนการจัดกจิ กรรมเคลือ่ นไหวและจงั หวะ หรือ ก่อนกลบั บ้าน เพื่อเพิ่ม ความสนทิ สนม ไว้วางใจระหว่างเด็กและครู

๒.๒ หนู ๆ พูดไมค์ หมายถงึ การทค่ี รูได้ให้เด็กไดใ้ ชไ้ มค์โครโฟนในการพูดหน้าชนั้ เรยี น ตัง้ แต่การแนะนำตนเอง, การเล่าเรอ่ื ง,การบรรยายภาพ ฯลฯ เพ่อื ฝึกทักษะความมั่นใจในตนเองให้เด็ก ในการแสดงออกในท่สี าธารณะ หรอื บนเวที

๒.๓ มั่นใจเพ่ือนรว่ มห้อง หมายถงึ การจัดกิจกรรมใหเ้ ด็กได้ทำงานเปน็ กลมุ่ ทค่ี รตู อ้ งคอย กำกบั ดแู ล ให้ทุกคนในกลุ่มมบี ทบาทรว่ มกนั เปิดโอกาสใหท้ กุ คนได้แสดงออกตามศักยภาพ เพอ่ื ฝึก ทกั ษะความมั่นใจในตนเองให้เดก็ ในการแสดงออก และไว้วางใจซง่ึ กนั และกนั

๒.๔ รับประทานอาหารรว่ มกัน หมายถึง การจัดใหเ้ ด็กได้รบั ประทานอาหารรว่ มกนั ทกุ คร้ัง มีการสลบั จดั กลมุ่ ใหม่ ๆ ทุกวนั ตลอดจนแบง่ หน้าทีร่ ับผดิ ชอบกันภายในกลมุ่ เช่น การไปรบั อาหาร การล้างจาน การเก็บกวาดเศษอาหารท่ีโตะ๊ และพน้ื เปน็ การฝึกใหเ้ ดก็ ได้แสดงออกในดา้ นการบรกิ าร และความรับผิดชอบดว้ ย เด็กจะเกิดความมน่ั ใจ ภูมใิ จในบทบาทของตนเอง ต่อไป 3. เด็กปฐมวยั หมายถึง เด็กในระดับชนั้ เตรียมอนบุ าล ๑ ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา ๒๕6๓ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านถ่อนพัฒนา สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเชิงชุม อำเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร จำนวน 3 คน

ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ ๑. เดก็ ปฐมวัยมคี วามม่นั ใจในตนเองมากขึ้น ๒. ไดแ้ นวทางในการจดั กิจกรรมเพือ่ พัฒนาความมั่นใจในตนเองสำหรับเด็กปฐมวยั ๓. เด็กปฐมวยั มพี ัฒนาการท้งั ๔ ด้าน เพ่มิ ขึน้

วิธกี ารวจิ ัย ๑. บรู ณาการกจิ กรรมเพิม่ ในแผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ ในแต่ละกจิ กรรมปกติ ดงั น้ี ๑.๑ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ - เดก็ มคี วามม่ันใจในการพดู หรอื แสดงออก - เด็กสามารถทำงานรว่ มกนั ไดอ้ ย่างมีความสขุ ๑.๒ กระบวนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ - เดก็ ออกไปพดู โดยใชไ้ มโครโฟน - เดก็ แบ่งกล่มุ การเล่น หรอื ทำงาน ๑.๓ วิธวี ดั และประเมินผลการเรยี นรู้ - สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก - สังเกตพฤตกิ รรมการเลน่ หรอื ทำงานเปน็ กลุ่ม ๑.๔ เคร่ืองมือการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม

๒. จัดกิจกรรมการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ ตามทบี่ รู ณาการไว้ ดังน้ี

ระยะเวลา กิจกรรมปกติ กจิ กรรมพัฒนาทกั ษะ

4 มกราคม 2564 รบั เด็ก เดก็ สนทนากับครู

(สปั ดาหท์ ่ีแรกของเดอื น) กจิ กรรมเคลอ่ื นไหวและจังหวะ หนูๆ พูดไมค์

ถึง กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ หนู ๆ พดู ไมค์ กิจกรรมเสรี มั่นใจเพ่อื นร่วมห้อง

๒6 กุมภาพันธ์ 2564 กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ มน่ั ใจเพ่อื นรว่ มหอ้ ง/ หนู ๆ พูดไมค์ (สัปดาห์สดุ ทา้ ยของเดอื น) กิจกรรมกลางแจง้ มัน่ ใจเพื่อนรว่ มหอ้ ง

ทุกวนั เปดิ เรยี น รบั ประทานอาหารกลางวนั รับประทานอาหารร่วมกัน กิจกรรมเกมการศกึ ษา ม่นั ใจเพ่ือนรว่ มหอ้ ง

รวม 39 วนั เตรียมตวั กลับบ้าน เด็กสนทนากบั ครู

หมายเหตุ แตล่ ะกิจกรรมอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสมของสถานการณแ์ ละเหตุการปจั จุบัน

เครอื่ งมือที่ใช้ในการวิจัย การวิจัยครั้งน้ี ใช้เครอ่ื งมือในการวิจยั ดงั นี้ ๑. กจิ กรรมพัฒนาทกั ษะ ๔ ประการ (กิจกรรม) ๒. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมความม่ันใจในตนเอง ทค่ี รอบคลมุ ท้ัง ๔ กิจกรรม

การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ผูว้ ิจัยเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา ๒๕6๓ ระหวา่ งเดอื นมกราคม ถงึ

เดือนกุมภาพนั ธ์ ๒๕64 รวม 39 วัน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤติกรรม

สถติ ิทีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมลู วเิ คราะหค์ ะแนนความมนั่ ใจในตนเองก่อนและหลังการใชก้ ิจกรรม จากแบบสังเกตพฤตกิ รรม

ความมนั่ ใจในตนเอง โดยการหาคา่ เฉล่ียรอ้ ยละ

ผลการวิจัย

ผวู้ ิจัย ขอเสนอผลการวิจัยจากตารางการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ดังนี้

ตารางที่ ๑ คะแนนความม่ันใจในตนเองกอ่ นการใช้กิจกรรมพัฒนาทกั ษะฯ

คะแนนความมนั่ ใจในตนเอง (คะแนนเตม็ ๒๔ คะแนน) รอ้ ยละ

ชอื่ - สกุล รายการที่ ๑ รายการท่ี ๒ รายการท่ี ๓ รายการที่ ๔ รวม

๓ คะแนน ๓ คะแนน ๓ คะแนน ๓ คะแนน ๑๒

1. ด.ช. ณฐั กรณ์ วอนาม 2 1 1 1 5 41.66

2. ด.ญ. กมลชนก บาตดี 1 1 1 1 4 33.32

3. ด.ญ. ประภาศิริ เรอื งเดช 2 2 1 1 6 50

รวม 8 7 5 5 25

รอ้ ยละ 53.33 46.62 33.33 33.33 41.66

ตารางที่ ๒ คะแนนความมน่ั ใจในตนเองหลังการใชก้ ิจกรรมพฒั นาทักษะฯ

คะแนนความมนั่ ใจในตนเอง (คะแนนเต็ม ๒๔ คะแนน) ร้อยละ

ชอื่ - สกลุ รายการท่ี ๑ รายการที่ ๒ รายการที่ ๓ รายการท่ี ๔ รวม

๓ คะแนน ๓ คะแนน ๓ คะแนน ๓ คะแนน ๑๒

1. ด.ช. ณฐั กรณ์ วอนาม 3 2 3 2 10 83.33

2. ด.ญ. กมลชนก บาตดี 3 3 3 2 11 91.66

3. ด.ญ. ประภาศริ ิ เรืองเดช 3 3 3 2 11 91.66

รวม 15 13 14 12 54

ร้อยละ 100 86.66 93.24 76.92 89.64

ผลการวเิ คราะห์ตามตารางท่ี ๑ และ ๒ ปรากฏว่า กอ่ นการใช้กิจกรรมฝกึ ทกั ษะ คะแนนความมน่ั ใจใน

ตนเองของเด็กปฐมวยั ดังนี้

รายการที่ ๑ การกลา้ แสดงออก คิดเปน็ รอ้ ยละ 53.33

รายการท่ี ๒ การเป็นตวั ของตวั เอง คิดเปน็ รอ้ ยละ 46.62

รายการที่ ๓ การปรับตวั เข้ากับครู/เพ่อื น คิดเปน็ รอ้ ยละ 33.33

รายการที่ ๔ การอาสารับบทบาทหนา้ ท่ี คดิ เปน็ ร้อยละ 33.33

ในภาพรวม คิดเปน็ ร้อยละ 41.66

และเมือ่ พิจารณาหลงั การใชก้ ิจกรรมฝกึ ทักษะ คะแนนความม่ันใจในตนเองของเด็กปฐมวัย ดงั นี้

รายการท่ี ๑ การกล้าแสดงออก คิดเปน็ รอ้ ยละ 100

รายการท่ี ๒ การเปน็ ตวั ของตวั เอง คดิ เป็นรอ้ ยละ 86.66

รายการท่ี ๓ การปรับตัวเข้ากบั ครู/เพอ่ื น คดิ เปน็ ร้อยละ 93.24

รายการท่ี ๔ การอาสารับบทบาทหนา้ ที่ คิดเป็นร้อยละ 76.92

ในภาพรวม คดิ เป็นร้อยละ 89.64

อภปิ รายผลการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ มีจดุ ประสงค์เพื่อพัฒนาความม่ันใจในตนเองของเด็กปฐมวัย โดยใช้กิจกรรมพัฒนาทักษะ

๔ ประการ ซึ่งผลการใช้แบบพัฒนาทักษะดังกล่าว เป็นไปตามสมมุติฐานท่ีตั้งไว้ กล่าวคือ การใช้กิจกรรมพัฒนา ทักษะ ได้แก่ “เด็กสนทนากับครู”, “หนู ๆ พูดไมค์”, “ม่ันใจเพ่ือนร่วมห้อง”, “รับประทานอาหารร่วมกัน” สามารถพัฒนาความม่ันใจในตนเองของเด็กปฐมวัยได้ดีย่ิงข้ึน ทั้งน้ีเนื่องจากกิจกรรมพัฒนาทักษะความมั่นใจใน ตนเอง ทง้ั ๔ ประการ เป็นแนวทางหน่ึงท่ีจะชว่ ยเสรมิ สรา้ งและพัฒนาความมั่นใจในกลุ่มเดก็ ทมี่ ีปัญหา ให้เป็นไป ในทางท่ีดีข้ึน เพราะการท่ีเด็กได้สนทนาร่วมกับครูผู้สอนบ่อย ๆ เด็กจะเกิดความอบอุ่น สนิทสนม กล้าคิด กล้า พดู มากขนึ้ เด็กปฏบิ ัติกิจกรรมและรับประทานอาหารรว่ มกัน

โดยให้ความสำคัญกับเด็กท่ีด้อยโอกาสมากขึ้น จะทำให้เด็กเหล่านั้นเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง กล้าพูด กล้าแสดงออกมากข้ึน สุดท้ายก็พัฒนาการแสดงออกทางภาษาด้วยการให้พูดปากเปล่าหรือพูดผ่าน ไมโครโฟนหน้าชั้นเรียนบ่อย ๆ เด็กก็จะซึมซับความเช่ือม่ันไปทีละเล็กละน้อย จนในที่สุดเด็กจะเกิดความเชื่อมั่น ในตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ มีความสุขกับการเรียนรู้ตลอดไป ซึ่งตรงกับทฤษฎีความต้องการของมาสโลว์ (Maslow, 1954 อ้างใน สมจินตนา คุปตสุนทร,๒๕๔๗ ; ๖๓) ได้กล่าววา่ คนทุกคนในสังคม มีความปรารถนา ท่ีจะได้รับความสำเร็จ มีความภาคภูมิใจในตนเอง และต้องการให้คนอ่ืนยอมรับนับถือในความสำเร็จของตนเอง ดว้ ย ถา้ ความต้องการนี้ได้รับการตอบสนองอยา่ งเพยี งพอจะทำใหบ้ ุคคลนัน้ มีความมัน่ ใจในตนเอง รู้สกึ ว่าตนเองมี ค่า มีความสามารถ แต่ถ้าความต้องการนี้ถูกขัดขวางจะทำให้เกิดความรู้สึกว่ามีปมด้อย หรือสูญเสียความ

ภาคภูมิใจในตนเองได้ และสอดคล้องกับ ศุภศีศรีสุคนธ์ (๒๕๓๙ : ๓๕) ท่ีกล่าวไว้ว่า ความม่ันใจในตนเอง มี ความสำคัญต่อความสำเร็จในชีวิต ทำให้มองโลกในแง่ดี การปูพื้นฐานความมั่นใจในตนเองสำหรับเด็ก จะช่วยให้ เดก็ กล้าคิด กล้าทำในส่ิงตา่ งๆ ไดอ้ ย่างมีความสุข ปรบั ตัวเข้ากับสภาพแวดลอ้ มต่าง ๆ ไดด้ ี รจู้ กั การให้และการรับ ร้จู กั ร่วมมือ รู้จกั สร้างมิตรภาพระหว่างเพ่อื นฝูง

ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การจัดกิจกรรม “เด็กสนทนากับครู”, “หนู ๆ พูดไมค์”, “ม่ันใจเพื่อน ร่วมห้อง”, “รับประทานอาหารร่วมกัน” ช่วยพัฒนาความมั่นใจในตนเองของเด็กปฐมวัยทุกด้าน ดังน้ัน ผู้ท่ี เก่ียวข้องกับเด็กปฐมวัย สามารถศึกษาและใช้เป็นแนวทางในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย ให้สอดคล้องกับพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน คุณลักษณะตามวัย วุฒิภาวะ ตลอดจนระยะเวลาที่เหมาะสมในการจัด ประสบการณ์ อันจะเป็นการปูพื้นฐานความม่ันใจในตนเองให้เกิดกับเด็ก จะช่วยให้เด็กกล้าคิด กล้าทำส่ิงต่าง ๆ ด้วยความมั่นใจ สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ และอยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมี ความสุขท้ังในปจั จุบันและอนาคตต่อไป

เอกสารอา้ งองิ

กรมวิชาการ. “คมู่ ือหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั ”. กรุงเทพฯ. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. ๒๕๔๖ กรมวิชาการ. “การวิจยั ในช้นั เรยี น”. กรุงเทพฯ. กระทรวงศึกษาธิการ. ๒๕๔๓ กุลยา ตันตผิ ลาชวี ะ. “การเลี้ยงดเู ดก็ กอ่ นวยั เรยี น ๓ – ๕ ขวบ”. กรงุ เทพฯ. ๒๕๔๒ จงใจ ขจรศิลป์. “การศกึ ษาลกั ษณะการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์และเลน่ ตามมุมที่มตี ่อความคิด

สรา้ งสรรคแ์ ละความม่นั ใจในตนเองของเด็กปฐมวัย”. กรุงเทพฯ. ๒๕๓๒ นวลศริ ิ เปาโรหิตย์. “มาสร้างความมน่ั ใจในตัวลกู กนั เถอะ”.เอกสารแนะแนว. ๒๕๓๖

ภาคผนวก

- ตัวอย่าง -

แบบสังเกตพฤตกิ รรมความมน่ั ใจในตนเอง

ชน้ั เตรียมอนุบาล ๑ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านถ่อนพฒั นา ตำบลเชิงชุม อำเภอพรรณานิคม จังหวดั สกลนคร

พฤตกิ รรมท่สี ังเกต

ลำดับ ชื่อ -สกุล กลา้ เป็นตวั ของ การปรบั ตวั อาสารับ รวม ร้อยละ แสดงออก ตวั เอง เข้ากบั ครู/ บทบาท

เพื่อน หน้าท่ี

๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ 12

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑ์การใหค้ ะแนน รายการสังเกต ๓ ๒๑ กลา้ แสดงออก ตัดสนิ ใจทนั ที ไมร่ ีรอ ใช้เวลาในการตัดสินใจ ลงั เล/ไมก่ ลา้ เปน็ ตัวของตัวเอง ปรบั ตวั เข้ากบั ครู/เพ่อื น เลก็ นอ้ ย

อาสารับบทบาทหนา้ ที่ ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมด้วยความม่ันใจ ตอ้ งใหผ้ อู้ ่ืนชแ้ี นะ หลบเลีย่ ง

กล้าสนทนากบั เพอื่ น/ครเู สมอ กล้าสนทนากับเพ่ือน/ครู ยังเข้ากับใครไมไ่ ด้

เปน็ บางคร้งั

อาสางานทกุ ครง้ั อาสางานเปน็ บางครงั้ ไม่เคยรับบทบาทอะไร

ลงชอื่ ................................................ (นางจรุวรรณ์ สนุ าพรม) ครปู ระจำชั้น/ผู้บันทกึ

รูปภาพประกอบ

การสังเกตพฤติกรรมความมนั่ ใจในตนเอง : พฤติกรรมความกลา้ แสดงออก การสังเกตพฤติกรรมความม่นั ใจในตนเอง : พฤติกรรมการเป็นตัวของตัวเอง

รปู ภาพประกอบ

การสังเกตพฤตกิ รรมความมั่นใจในตนเอง : พฤตกิ รรมการปรบั ตัวเข้ากบั ครู/เพอ่ื น การสังเกตพฤตกิ รรมความม่นั ใจในตนเอง : พฤตกิ รรมการอาสารบั บทบาทหน้าท่ี

ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กบา้ นถ่อนพฒั นา สังกดั องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลเชงิ ชมุ ตำบลเชงิ ชุม อำเภอพรรณานิคม จงั หวัดสกลนคร

ความกล้าแสดงออก มีอะไรบ้าง

1. การแต่งกาย 2.บุคลิกระหว่างการพูด 3. พูดได้คล่องแคล่ว 4. น้าเสียงเหมาะสมตามสถานการณ์ 5. ประสานตากับคู่สนทนา 6. ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น 7. ไม่เคอะเขินหรือลังเล 8. กล้าคิดกล้าทาและ กล้าสดงออก 9. การแสดงออกทางใบหน้าที่เหมาะสม 10.ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องของตนเอง

ทำยังไงให้นักเรียนกล้าแสดงออก

6 เคล็ดลับช่วยครู สร้างนักเรียน กล้าแสดงออก.

1. สร้างแบบอย่างที่ดี ... .

2. ไม่เร่งไม่บังคับ ... .

3. คำนึงถึงความชอบและความสนใจ ... .

4. ดูและรับฟังอย่างตั้งใจ ... .

5. ให้กำลังใจ ... .

6. ให้โอกาสบ่อยๆ.

ทำยังไงให้ตัวเองกล้าแสดงออก

5 วิธีพูดให้เก่งไม่ว่าสถานการณ์ไหนก็มั่นใจ สร้างความกล้าแสดงออก.

1. เป็นตัวเองให้มากที่สุด ... .

2. พูดอย่างมีความหมาย ... .

3. ฝึกการพูดอย่างสม่ำเสมอ ... .

4. กล้าที่จะพูดลดความประหม่า ... .

5. พูดผิดพูดใหม่ได้.

การกล้าแสดงออกมีประโยชน์อย่างไร

ข้อดีของการเป็นคนกล้าแสดงออกเมื่อเด็กกล้า ก็จะทำให้เขาไม่เป็นเหยื่อของการกลั่นแกล้งจากเด็กคนอื่น ๆ เพราะเด็กที่กล้าแสดงออกจะเป็นคนที่เชื่อมั่นในตัวเองและไม่ปล่อยให้ใครแกล้งได้ เมื่อได้รับการฝึกฝนเด็กที่ขี้อายก็สามารถมีความเชื่อมั่นในตัวเองและกล้าแสดงออกได้

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ศัพท์ทางทหาร military words แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 พจนานุกรมศัพท์ทหาร ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค lmyour แปลภาษา การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ประปาไม่ไหล วันนี้ ฝยก. ย่อมาจาก หยน ห่อหมกฮวก แปลว่า เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน ่้แปลภาษา onet ม3 การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ตตตตลก บบบย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ เขียน อาหรับ แปลไทย เนื้อเพลง ห่อหมกฮวก แปลไทย asus zenfone 2e กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การประปานครหลวง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบภาษาอังกฤษ ม.ปลาย พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ชขภใ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน นยน. ย่อมาจาก ทหาร บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ฝสธ. ย่อมาจาก มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 ซับไทย มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 เต็มเรื่อง ยศทหารบก เรียงลําดับ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 รัชกาลที่ 10 ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด