การตรวจร างกายผ ป วยท ม ป ญหาระบบกระด กและกล ามเน อ

  • 2. จัดทําขึ้น เพื่อใชในการประกอบการเรียนการสอนวิชา 501202 แนวคิดพื้นฐานและ หลักการพยาบาล 2 และเปนแนวทางใหนิสิตสามารถประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อและขอของผูใชบริการไดอยางถูกตอง อันจะเปนสวนหนึ่งของการให การพยาบาลผูใชบริการอยางมีประสิทธิภาพ ผูเรียบเรียงขอขอบพระคุณผูเรียบเรียงตําราที่ผูเขียนไดอางอิง และ ขอขอบพระคุณครู อาจารยทุกทานที่ไดใหความรู คําแนะนําในการจัดทําบท เรียบเรียงนี้ ผ.ศ.แสงหลา พลนอก คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร เมษายน 2552
  • 3. ขอ การตรวจขอไหล การตรวจขอศอก การตรวจนิ้วมือและขอนิ้ว การตรวจขอตะโพก การตรวจขอเขา การตรวจขอเทาและนิ้วเทา การตรวจพิเศษ สรุป คําถามทายบท บรรณานุกรม การประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอ
  • 4. จะทําหนาที่เปนโครงสรางและชวยใน การเคลื่อนไหวของรางกายและยังปองกันอวัยวะภายในที่ออนนุมดวย นอกจากนั้นระบบนี้ยังสรางเม็ดเลือดและเปนที่สะสมของเกลือแรตางๆ ไดแก แคลเซียมและฟอสฟอรัส การประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอ สามารถ แบงออกไดสามวิธี ไดแก การซักประวัติ การตรวจรางกาย และ การตรวจพิเศษ ตางๆ วัตถุประสงค เมื่อจบบทเรียนนี้แลวผูเรียนสามารถ 1.บอกกายวิภาคศาสตรระบบกระดูก กลามเนื้อและขอได 2.อธิบายการซักประวัติเพื่อประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อและขอได 2.อธิบายการตรวจรางกายเพื่อประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อ และ ขอได 3.ระบุวิธีการตรวจพิเศษที่เกี่ยวของกับการประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอได กายวิภาคศาสตรระบบกระดูก กลามเนื้อ และ ขอ
  • 5. ชิ้น หนาที่จะเปนตัวกําหนด รูปรางและผิวหนาของกระดูก เชน กระดูกยาว (Long bone) จะทําหนาที่เปน คาน จึงมีผิวหนาที่เรียบแบนเพื่องายในการเกาะยึดของเอ็นหรือเสนประสาท (Wilson & Giddens, 2009. p. 311) เชน กระดูกตนแขน (Humerus) กระดูก ตนขา (Femur) กระดูกปลายแขน (Fibula) กระดูกนิ้วมือและเทา (Phalanges) สวนกระดูกสั้น (Short bone) จะมีรูปรางคลายลูกบาศก (Cube shaped) เชน กระดูกขอมือ (Carpal) กระดูกขอเทา (Tarsal) เปนตน กลามเนื้อลาย (Skeletal muscles) กลามเนื้อลายประกอบดวย เสนใยกลามเนื้อซึ่งยึดจับกับกระดูกเพื่อ ชวยในการเคลื่อนไหว กลามเนื้อสวนใหญเคลื่อนไหวตามที่สมองสั่ง (Voluntary control) แตกลามเนื้อบางมัดเคลื่อนไหวเองดวยรีเฟล็กซ (Reflex) ใยของกลามเนื้อลายจะถูกจัดเรียงใหวางขนานกับความยาวของกระดูกหรือถูก จัดเรียงใหอยูในแนวเฉียงของกระดูก ขอ (Joints) ขอ คือ เนื้อเยื่อสวนที่เชื่อมตอระหวางกระดูกตั้งแต 2 ชิ้น ขึ้นไป ชวยให มีความมั่นคงของขอขณะที่มีการเคลื่อนไหว ขอแบงออกได 2 แบบดังนี้ 1. แบงตามชนิดของสวนประกอบของขอไดแก เสนใย (Fibrous) กระดูกออน (Cartilaginous) เยื่อหุมขอ (Synovial)
  • 6. แบบ คือ 2.1 เคลื่อนไหวไมไดเลย เรียกวา Synarthrodial เชน รอยตอของ กระดูกกะโหลกศีรษะ (The Suture of the skull) เปนตน 2.2 เคลื่อนไหวไดเล็กนอย เรียกวา Amphiarthrodial เชน กระดูกหัว เหนา (Symphysis pubis) เปนตน 2.3 เคลื่อนไหวไดเต็มที่ เรียกวา Diarthrodial joints เชน หัวเขา ขอ นิ้วมือ เปนตน ซึ่ง Diarthrodial joints ยังสามารถแบงยอยตามชนิดของการ เคลื่อนไหว เชน แบบบานพับ (Hinge joint) ซึ่งเคลื่อนไหวไดเฉพาะเหยียดและ งอ (Extension and flexion) เชน หัวเขา ขอศอกและขอนิ้ว เปนตน และ แบบ Ball-and-socket ซึ่งจะมีเบาในกระดูกเขาไปสวม ไดแก ขอตะโพกและขอไหล เปนตน ขอชนิดนี้จะมีการเคลื่อนไหวไดหลายทิศทาง Diarthrodial joints มีชื่อ เรียกอีกอยางหนึ่งวา Synovial joints เพราะจะมีน้ําลอมรอบเยื่อหุมขอ (Synovial fluid) ซึ่งมีหนาที่หลอลื่นใหขอสามารถเคลื่อนไหวไดหลายทิศทาง ขอชนิดนี้บางแหง เชน ขอเขาจะมีแผนกระดูกออนเรียกวา Meniscus รองอยู เพื่อปองกันการกระแทกอันกอใหเกิดการบาดเจ็บของขอ เปนตน เอ็น (Ligaments or tendons) เปนเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่เชื่อมระหวางกระดูกและกระดูก หรือ ระหวาง กลามเนื้อและกระดูก ทําหนาที่ชวยประคับประคองขอไมใหบาดเจ็บในขณะ เคลื่อนไหว โดยการเรียงตัวในหลายทิศทาง ไดแก ลอมรอบขอ ยึดขอในแนว เฉียงหรือเรียงตัวไปตามแนวยาว และยังชวยนําแรงที่เกิดจากการหดตัวของ กลามเนื้อลายไปยังขอ ทําใหเกิดการเคลื่อนไหว
  • 7. bursa) กระดูกออน เปนเนื้อเยื่อแผนคอนขางเรียบลื่นแผปกคลุมรอบ ๆ ปลาย กระดูก ทําใหบริเวณผิวของขอเรียบ กระดูกออนจะรับแรงและน้ําหนักที่เกิด ขึ้นกับขอ กระดูกออนไมมีเสนเลือดมาเลี้ยงจึงไดรับอาหารที่ผานมาจาก Synovial fluid ในขณะมีการเคลื่อนไหวและรับน้ําหนักของขอ ชองระหวางเยื่อหุมขอ (Bursa) คือ ถุงเล็กๆ หรือชองที่อยูในเนื้อเยื่อ เกี่ยวพันที่อยูรอบๆ ขอเฉพาะบางแหง ไดแก ขอไหล และขอเขา Synovial Fluid ซึ่งทําหนาที่หลอลื่นขอบรรจุอยู Bursa จะถูกสรางขึ้นเองเมื่อมีแรงกดหรือการ เสียดสีของขอ (ดังภาพที่ 1) โครงสรางของกระดูก โครงสรางของกระดูกแบงเปน 2 แบบคือ กระดูก สวนกลาง (Axial skeleton) และกระดูกรยางค (Appendicular skeleton) ภาพที่ 1 แสดงสวนตางๆ ของขอกระดูกออน และเยื่อหุมขอ
  • 8. ไดแก กะโหลกศีรษะและลําคอ (Skull and neck) กระดูกสวนลําตัวและเชิงกราน (Trunk and pelvis) กะโหลกศีรษะประกอบดวยกระดูกจํานวน 6 ชิ้น ซึ่งจะเชื่อมติดกัน กระดูกใบหนาประกอบดวยกระดูกทั้งหมด 14 ชิ้น มีเพียงหนึ่งชิ้นที่เคลื่อนไหว ไดคือ กระดูกคาง สวนลําคอจะถูกประคองดวยกระดูกสันหลังสวนคอ (Cervical vertebrae: C) เอ็น และกลามเนื้อคอ (Sternocleidomastoid) และ กลามเนื้อไหล (Trapezius) ซึ่งจะชวยในการเคลื่อนไหวในระดับ C 4-5 หรือ C 5-6 การเคลื่อนไหวของลําคอจะสามารถทําไดทั้ง กมหนา (Flexion) เงยหนา (Extension) แหงนหนาไปดานหลัง (Hypertension) เอียงคอ (Lateral) และ หมุนคอ (Rotation) ลําตัวและเชิงกราน ลําตัวจะตั้งตรงและคงรูปรางไดจะตองอาศัย กระดูกซี่โครง (Ribs) และกระดูกหนาอก (Sternum) กระดูกไหปลารา (Clavicle) และกระดูกสะบัก (Scapula) สําหรับกระดูกสันหลังประกอบดวย กระดูกสันหลังสวนคอ (Cervical) จํานวน 7 ชิ้น สวนอก (Thoracic) จํานวน 12 ชิ้น สวนเอว (Lumbar) จํานวน 5 ชิ้น และสวนกระเบนเหน็บ (Sacral) กระดูก สันหลังจะสามารถเคลื่อนไหวไดทั้งกมไปขางหนา (Flexion) แอนไปขางหลัง (Hyperextension) เอียงตัว (Lateral Bending) และหมุนตัว (Rotation) กระดูกสันหลังที่เคลื่อนไหวไดมากที่สุดคือ สวนคอ 2. กระดูกระยางค กระดูกระยางค ไดแก สวนบนคือ ไหลและแขน สวนบน (Shoulder and upper arm) ขอศอก ปลายแขน และขอมือ (Elbow, forearm, and wrist) มือ (Hand) และสวนลางคือ สะโพกและตนขา (Hip and
  • 9. and lower leg) ขอเทาและเทา (Ankle and foot) ไหลและแขนสวนบน ขอไหลจะเปนขอแบบ Glenohumeral Joint (Ball-and-socket) สามารถเคลื่อนไหวไดทั้ง งอ (Flexion) เหยียด (Extension) เหยียดออกไปขางหลัง (Hyperextension) กางออก (Abduction) หุบเขา (Adduction) หมุนเขาดานใน (Internal rotation) และ หมุนออกดานนอก (External rotation) ขอศอก ปลายแขน และขอมือ ขอศอกประกอบดวยกระดูกตนแขน (Humerus) กระดูกปลายแขน (Radius and ulna) ขอศอกจะเปนขอแบบ Hinge joint ซึ่งจะเคลื่อนไหวแบบเหยียดแขน (Extension) งอแขน (Flexion) และ แอนแขนไปดานหลัง (Hyperextension) คว่ํามือ (Pronation) และ หงาย มือ (Supination) ขอมือจะประกอบดวย กระดูกปลายแขนและกระดูกฝามือ ขอมือจะเคลื่อนไหวแบบ กระดกมือลง (Flexion) เหยียดขอมือ (Extension) กระดกขอมือขึ้น (Hyperextension) บิดขอมือไปทางหัวแมมือ (Radial flexion) บิดขอมือไปทางนิ้วกอย (Ulnar flexion) มือ นิ้วมือจะสามารถเคลื่อนไหว แบบ งอ (Flexion) เหยียด (Extension) กาง (Abduction) และหุบ (Adduction) สะโพกและตนขา ขอสะโพกจะประกอบดวยเบากระดูก (Acetabulum) และสวนหัวกระดูกตนขา (Femur) ซึ่งจะหอหุมดวยเยื่อหุม ลักษณะของขอจะคลายกับขอเขาคือ Ball-and-socket joint ทําใหสามารถ เคลื่อนไหวไดหลายทิศทาง คือ งอขา (Flexion) เหยียดขา (Extension) และ
  • 10. (Abduction) และหุบขา (Adduction) หมุนขาเขาดานใน (Internal rotation) หมุนขาออกดานนอก (External rotation) และ แกวงเปนวงกลม (Circumduction) ขอเขาและขาสวนลาง ขอเขาจะเปนขอแบบบานพับ การเคลื่อนไหวจะ เปนแบบ งอ (Flexion) เหยียด (Extension) และเหยียดไปทางดานหลัง (Hyperextension) ขอเทาและเทา ขอเทาจะเปนแบบบานพับ มีการเคลื่อนไหวแบบงอคือ กระดกปลายเทาขึ้น (Dorsiflexion) กดปลายเทาลง (Plantar Flexion) บิด ปลายเทาเขา (Inversion) บิดปลายเทาออก (Eversion) หุบนิ้วเทา (Adduction) กางนิ้วเทา (Abduction) การประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอ การประเมินระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอ ประกอบดวยการซัก ประวัติ การตรวจรางกาย และ การตรวจพิเศษ การซักประวัติ (History taking) ควรซักประวัติใหครอบคลุมหัวขอตอไปนี้ 1. อาการสําคัญที่นํามาโรงพยาบาล (Chief compliant) การซัก ประวัติถึงอาการสําคัญที่นํามาโรงพยาบาลอยางละเอียดและถูกตอง จะทําให ไดขอมูลที่มีความสําคัญ นําไปสูการวินิจฉัยและเปนแนวทางในการรักษาได ถึงแมวาจะยังไมไดตรวจรางกาย อาการที่สําคัญที่นําผูรับบริการมาพบแพทย จะอยูใน 3 กลุม ไดแก
  • 11. (Pain) หรืออาการ ชา (Numbness) 1.2 ดูผิดปกติ เชน สังเกตวามีกระดูกสันหลังคดหรือโกง คอมหลัง แอน ขาโกงหรือปดออก เดินแลวมีปลายเทาปดเขาหรือปดออก กอนตามแขน ขา กลามเนื้อลีบ บวม แดง รอนและปวด 1.3 การเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ และสังเกตพบได ไดแก การเดิน กะเผลก (Limping) การเคลื่อนไหวออนแรง (Weaken) ไมมั่นคง (Instability) มีอาการสั่น (Tremors) ขอติดแข็ง (Stiffness) ขยับแขน ขา ไมได (Paralysis) 2. ขอมูลพื้นฐานของผูรับบริการ (Basic information of clients) ดังนี้ 2.1 อายุ (Age) และเพศ (Gender) มีความสัมพันธกับโรคหรือ ความผิดปกติที่เกิด ในเด็กเล็กมักจะเกิดจากความพิการแตกําเนิด วัยรุนหรือวัย ผูใหญมักจะเกิดจากอุบัติเหตุ อาชีพ หรือกีฬาที่เลนเปนประจํา สวนในวัย ผูสูงอายุมักจะเกิดความเสื่อมของกระดูก กลามเนื้อ และขอ เมื่ออายุมากกวา 35 ปขึ้นไปกระดูกมักจะบางลง (Wilson & Giddens, 2009. p. 319) โรคขออักเสบ (Osteoarthritis) มักจะเกิดในผูหญิงที่มีอายุ มากกวา 45 ปขึ้นไปมากกวาผูชาย แตในทางกลับกัน จะเกิดขึ้นมากในผูชาย อายุกวา 45 ลงไปมากกวาผูหญิง (Wilson & Giddens, 2009. p. 319) ผูหญิง มักจะมีกระดูกบางและมีการสลายของมวลกระดูกมากกวาผูชาย (Wilson & Giddens, 2009. p. 319) 2.2 อาชีพและกีฬาที่เลนเปนประจํา (Job and usual exercise)
  • 12. ที่ตองกม ๆ เงย ๆ ในการดํานา หรือ เก็บ เกี่ยวเปนเวลานาน ๆ ผูรับบริการมักมาดวยอาการปวดหลัง สวนงานที่ตองงอ เขาหรือคุกเขาเปนประจําทําใหเกิดการเสื่อมของขอเขาไดเร็ว เปนตน กีฬาบางประเภทที่ใชกลามเนื้อเฉพาะบางมัด เชน บาสเกตบอลทําให เกิดแรงกระแทกแรงๆ เปนเวลานาน จะเกิดการอักเสบของกลามเนื้อและเอ็น บริเวณหัวเขา เทนนิสจะทําใหเกิดการอักเสบของกลามเนื้อและเอ็นบริเวณ ขอศอก เปนตน 2.3 กิจวัตรประจําวัน (Activity of daily living) ถามถึงกิจวัตร ประจําวันที่ผูรับบริการทําไดเอง และถาทําไมไดชวยเหลือตัวเองอยางไร เนื่อง ดวยความเจ็บปวยของโรคกระดูก กลามเนื้อ และขอ ทําใหเคลื่อนไหวไดนอยลง สงผลตอการดูแลตนเอง นอกจากนั้นควรจะถามถึงการดําเนินชีวิตประจําวันที่ สัมพันธกับอาการเจ็บปวย เชน การนั่ง ผูที่มีอาการปวดเขา ควรถามถึงวิธีการ นั่ง ถานั่งกับพื้น หรือ การนั่งสวมซึมซึ่งตองนั่งยองๆ จะทําใหปวดเขา เปนตน 2.4 ประวัติการเจ็บปวยในอดีต (Past history) 2.4.1 โรคเกี่ยวกับกระดูก กลามเนื้อและขอ รวมทั้งสิ่งที่เปน สาเหตุของโรคเหลานั้น เนื่องจากความเจ็บปวยในอดีตอาจสงผลสําเร็จถึง ปจจุบัน เชน เกิดอาการขอติดแข็ง (Stiff joints) หรือการเคลื่อนไหวเต็มพิกัด ลดลง (Decrease range of motion) 2.4.2 ความพิการแตกําเนิดของกระดูก กลามเนื้อและขอ และ ประวัติการรักษา
  • 13. รวมทั้งอาการ ภายหลังการผาตัด 2.5 โรคเรื้อรังหรือปญหาสุขภาพในระบบอื่น (Chronic disease or problem) โรคเรื้อรัง เชน ระดับไขมันในเลือดสูง เบาหวาน และเสนเลือด แดงแข็งและหนา (Arteriosclerosis) อาจจะเปนสาเหตุของอาการปวดขอจาก โรคเกาท (Gout) ได ซึ่งจะสงผลการเคลื่อนไหวและการทํากิจวัตรประจําวันทํา ไดนอยลง เปนตน (Wilson & Giddens, 2009. p. 319) 2.6 ประวัติการใชยา (Drugs history) การรับประทานยาบางชนิด เชน แอสไพริน ไอโซโพรเพน (Isoprofen) ยาบรรเทาปวด ยากลอมประสาท และยานอนหลับ อาจทําใหผูรับบริการมีอาการดีขึ้น จึงบดบังอาการที่แทจริง 2.7 ประวัติครอบครัว (Family history) ความเจ็บปวยของบุคคล ในครอบครัวที่เกี่ยวกับกระดูก กลามเนื้อ และขอ เชน Rheumatoid, Osteoarthritis, Gout เพราะทําใหผูรับบริการมีโอกาสเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรค เหลานี้ เปนตน 3. ประวัติอาการสําคัญที่พบ (Problem-based history) โดยสวนใหญอาการสําคัญของผูรับบริการโรคกระดูก กลามเนื้อ และ ขอ คือ อาการปวด จึงควรซักประวัติเกี่ยวกับอาการปวดใหละเอียด ดังนี้ 3.1 บริเวณที่เริ่มปวด และลักษณะของอาการปวด เชน ปวดแปลบ ปวดตื้อๆ ปวดลึกๆ หรือตื้น ๆ ระยะเวลาของอาการปวดตั้งแตเริ่มจนถึงปจจุบัน 3.2 ระดับความรุนแรงของอาการปวด โดยใชแบบประเมินอาการ ปวด (Pain scale)
  • 14. ถามีอาการปวดใน ตอนเชารวมกับอาการขอติดแข็งอาจจะเกิดจาก Rheumatoid arthritis ปวด ตอนกลางวันขณะทํางาน เปนตน 3.4 มีการปวดราวไปที่ใดหรืออวัยวะใด อะไรทําใหปวดมากขึ้น หรือบรรเทาลง เชน การขยับอวัยวะหรือขอในผูที่เปน Rheumatoid arthritis จะ ทําใหอาการปวดบรรเทาลง เปนตน การเคลื่อนไหวแบบไหนสัมพันธกับอาการ ปวด ความรุนแรงของอาการปวดขึ้นกับสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปหรือไม เชน ผูที่เปนโรคขออักเสบ จะปวดรุนแรงขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของความกด อากาศ เปนตน (Wilson & Giddens, 2009. p. 321) 3.5 เคยเปนไขหวัดลงคอมากอนที่มีอาการปวดขอนั้นหรือไม เชน การเจ็บปวยจากเชื้อไวรัส จะมีอาการปวดกลามเนื้อ (Myalgia) (Wilson & Giddens, 2009. p. 321) 3.6 อาการปวดมีผลตอผูรับบริการอยางไรบาง เชน ตื่นกลางดึก จากอาการปวดหรือชา ความสามารถในการเคลื่อนไหวลดลง ความสามารถใน การดูแลตนเองลดลง เชน โรคเกาท หรือ โรคขออักเสบ จะทําใหเกิดการอักเสบ แบบเฉียบพลัน (Acute inflammation) ซึ่งจะมีอาการบวม แดง รอน และทําให ขอนั้นๆ ไมสามารถเคลื่อนไหวไดอยางเต็มที่ เปนตน (Wilson & Giddens, 2009. p. 321) 3.7 เคยไดรับอุบัติเหตุมากอนหรือใชงานอวัยวะสวนนั้นมากและ เปนเวลานานๆ แลวเกิดอาการปวดหรือ อาการปวดเกิดขึ้นเองโดยไมทราบ สาเหตุ
  • 15. กลามเนื้อ และขอ ประกอบดวยขั้นตอน การดู การคลําหรือการวัด ดังนี้ การดู (Inspection) สังเกตโครงสรางรางกายโดยสังเกตลักษณะการยืนตรง โดยใหดูทั้ง ดานหนา หลัง และดานขาง เปรียบเทียบความสมมาตรของรางกายซีกซายและ ขวา หลังตั้งตรงและมีความโคงของกระดูกสันหลังตามปรกติ คือ สวนของคอ จะเวา (Cervical concave) สวนหลังจะนูน (Thoracic convex) และสวนเอ วจะเวา (Lumbar concave) (ดังภาพที่ 2) สังเกตขนาดและความสมมาตรของกลามเนื้อ ถามีกลามเนื้อลีบทั้ง สองขางจะบงบอกถึงการขาดเสนประสาทไปเลี้ยงบริเวณนั้น เชน ไดรับ บาดเจ็บบริเวณไขสันหลัง หรือ ภาวะขาดสารอาหาร เปนตน การลีบเพียงขาง เดียวจะบงบอกถึงการใชงานนอย เคลื่อนไหวนอยลงอันเนื่องมาจากอาการ ปวด หรือ หลังจากไดรับการใสเฝอกมาเปนเวลานาน กลามเนื้อกระตุก (Fasciculation) อาจแสดงถึง ผลจากอาการขางเคียงของยา ความสามารถใน การเดินตัวตรงหรือเดินดวยความออนแรงของกลามเนื้อมัดตางๆ ความโคงของ กระดูกสันหลัง เชน หลังคอม (Humpback) ในโรค Kyphosis หรือกระดูกสัน หลังคดไปทางดานขางในโรค Scoliosis ผิวหนังใหสังเกตระดับสี แผลเปน มี บาดแผลที่มีลักษณะเปนแผลถลอกที่ผิวหนังหรือแผลฉีกขาดหรือไม สังเกต ลักษณะวามีอาการบวมหรือลักษณะผิดรูปรางหรือไม (Harkreader, Hogen, & Thobaben, 2007. p. 177)
  • 16. โดยดูระดับของ ไหล (Scapula) ทั้งสองขาง ระดับของสะบักและแนวสันกระดูกเชิงกราน (Iliac crest) ความสมมาตรของรางกายทั้งสองขาง A. ดานหนา B. ดานหลัง และ C. ดานขาง แสดงถึงความเวาของกระดูกสันหลังในระดับตางๆ การคลํา (Palpation) หรือ การวัด (Measurement) คลําบริเวณ ผิวหนังเพื่อสัมผัสใหทราบถึงอุณหภูมิ ความรูสึก ความออนนุม (Texture) และ ความตึงตัว (Tone) คลําดูลักษณะการเจ็บปวด บวม และรอน ตรวจลักษณะ ขนาดผิดรูปรางหรือความสั้นยาวของกระดูก การตรวจความเคลื่อนไหวของขอ (Range of movement) การตรวจ การเคลื่อนไหวของขอตางๆ เริ่มจากใหผูรับบริการทําเอง (Active movement) กอน แลวเปรียบเทียบกับการตรวจโดยใหพยาบาลทํา (Passive Cervical Concave Thoracic Convex Lumbar Concave
  • 17. พยาบาลควรสังเกตอาการเจ็บปวด การเคลื่อนไหวของ ขอ มีอยู 7 ทิศทาง ไดแก Abduction, Adduction, Flexion, Extension, Internal rotation, External rotation และ Circumduction การวัดเปนการตรวจวิธีหนึ่งเพื่อใหไดทราบขนาดของแขน ขา ความ ยาวของแขน ขาและขนาดมุมของการเคลื่อนไหวของขอ 1. การวัดขนาดรอบวง เพื่อใหทราบขนาดของกอนเนื้องอกหรือขนาด ของแขน ขา วาเทากันหรือไมเทากัน โดยการวัดเปรียบเทียบ 2 ขาง ที่ตําแหนง เดียวกัน เชน ที่ตําแหนง 5 เซนติเมตรใตลูกสะบา (Patella) หรือ 5 และ 10 เซนติเมตร เหนือลูกสะบา นอกจากนั้นควรวัดเปรียบเทียบขนาดตามระยะเวลา วามีการเปลี่ยนแปลงอยางไร ยุบลงหรือบวมขึ้น (ดังภาพที่ 3) 2. การวัดความยาวของขา วัดจาก Anterior superior iliac spine ไปที่ Medial malleolus ในทาขอสะโพกและเขาเหยียดตรง (ดังภาพที่ 4) ภาพที่ 4 การวัดความยาว ของขาทั้งหมด ภาพที่ 3 แสดงการวัดขนาด เสนรอบวงของตนขา
  • 18. Anterior superior iliac spine ไปที่ Joint line ดานในหรือดานนอกของเขา (ดังภาพที่ 5) 2.2 การวัดความยาวของขาทอนลาง วัดจาก Joint line ดานในหรือ ดานนอกของเขา ไปที่ Medial malleolus (ดังภาพที่ 6) 3. การวัดมุมขอ โดยใชเครื่องวัดมุมหรือ Goniometer (ดังภาพที่ 7) วิธีการวัดมุมของขอทํา ไดโดยการ วางทาบ Goniometer ลงบนมุม ของขอที่จะวัด แลวกางขาดานหนึ่งใหอยูในแนวกลางสวนตนขาดานหนึ่ง และ กางขาอีกขางหนึ่งวางทาบลงบนแนวกลางของสวนปลายขาอีกดานหนึ่ง ใหมุม ตัด (มุม 0) วางอยูบริเวณอยูตรงกลางของขอ อานคาที่ไดทั้งในขณะ งอ เหยียด ภาพที่ 6 แสดงการวัดความ ยาวของขาทอนลาง ภาพที่ 7 แสดงการวัดมุมขอ (Avaronrehap.com, 2010) ภาพที่ 5 การวัดความยาว ของขาทอนบน
  • 19. การวัดความ สามารถในการ เคลื่อนไหวของขอ จะวัดออกมาเปนองศา เชน ขอศอกขณะงอได 135O เปนตน การสังเกตการเคลื่อนไหวเต็มพิกัด (Range of motion) การสังเกตการเคลื่อนไหวเต็มพิกัดของขอตางๆ เพื่อทดสอบวามีอาการ เจ็บปวดกลามเนื้อขณะเคลื่อนไหว (Pain on movement) ความมั่นคงของขอ (Joint stability) และความผิดรูป (Deformity) วิธีการคือ ใหผูรับบริการ เคลื่อนไหวสวนตางๆ ของรางกาย ตามที่พยาบาลบอก ขณะเคลื่อนไหวถามี อาการ เจ็บ รอน บวม มีเสียงกรอบแกรบ ผิดรูป หรือ ติด แสดงถึงอาการ ผิดปกติของขอนั้น ๆ ซึ่งควรไดรับการตรวจในขั้นตอนตอไป ลําคอ -Flexion:กมใหคางจรดอก -Extension:เงยหนาตรง -Hyperextension: แหงนหนาไปดาน หลังใหมากที่สุด -Lateral flexion:เอียงศีรษะไปชิด กับไหลซายและขวาใหมากที่สุด -Rotation: หมุนศีรษะไปทางซาย และขวา ขอไหล-Flexion: ยืนตรงแขนแนบลําตัวแกวง แขนขึ้นเหนือศีรษะ -Extension: เอาแขนลงมาแนบขาง ลําตัวเหมือนเดิม -Hyperextension: แกวงแขนไป ดานหลังลําตัวโดยไมงอขอศอก Flexion Extension
  • 20. rotation: งอขอศอกหมุนแขนลง -External rotation: งอขอศอกหมุนแขนขึ้น Flexion Extension -Abduction: กางแขนออกไปดานขาง ลําตัวแลวยกขึ้นเหนือศีรษะ -Adduction:ลดแขนมา แนบลําตัวแลวแกวงแขนไขว ไปดานตรงขามใหมากที่สุด Abduction Adduction Hyperextension External rotation Internal rotation
  • 21. แอนนิ้วมือขึ้นให มากที่สุด -Abduction: กางนิ้วออก ปลายแขน -Pronation: คว่ําฝามือลง -Supination: หงายฝามือขึ้น -Circumduction: เหยียดแขน แลวแกวงแขนเปนวง โดยรอบ Pronation Supination
  • 22. กระดกมือขึ้นให มากที่สุด -Flexion: ยกขาไปขางหนา -Extension: แกวงขากลับมาชิดกัน -Radial flexion: เอียงมือไปดาน หัวแมมือ -Ulnar flexion: เอียงมือไปดาน นิ้วกอยขอสะโพกRadial Flexion Ulna flexion Flexion
  • 23. rotation: บิดเขา ออกนอกลําตัว Extension
  • 24. flexion: กดปลายเทาลง -Inversion: หมุนเทาเขาดานใน -Eversion: หมุนเทาออกดานขาง ขอเขา -Flexion: งอเขายกสนเทาขึ้น -Extension: เอาสนเทาไปแตะ พื้น
  • 25. muscle strength) ทดสอบความแข็งของกลามเนื้อ โดยการใหผูรับบริการเคลื่อนไหวขอ นั้นๆ เต็มที่ แลวออกแรงตานกับแรงของพยาบาล เปรียบเทียบความแข็งแรง ของอวัยวะทั้ง 2 ขาง มักจะพบวาขางที่ผูรับบริการถนัดมักจะมีความแข็งแรง มากกวาขางที่ไมถนัด แตไมควรใชแรงทดสอบมาก ณ บริเวณที่มีอาการ เจ็บปวด วิธีการทดสอบกําลังของกลามเนื้อ 1. Isometric testing คือ การทดสอบโดยผูรับบริการ เกร็งกลามเนื้อ ไวหลังจากเกิดการเคลื่อนไหวอยางเต็มที่แลว พยาบาลพยายามเอาชนะการหด ตัวของกลามเนื้อนั้น นิ้วเทา - Flexion: งอนิ้วเทาขึ้น และลง -Extension: เหยียดนิ้วเทา -Abduction: กางนิ้วเทาออก -Adduction: หุบนิ้วเทาเขา
  • 26. คือ การทดสอบโดยผูรับบริการพยายามออกแรง การเคลื่อนไหวขอในขณะที่พยาบาลออกแรงตานเพื่อขัดขวางการเคลื่อนไหว ดังกลาว วิธีนี้ชวยใหตรวจสอบกลามเนื้อออนแรงได ขณะที่ทดสอบกําลังของ กลามเนื้อ ใหสังเกตและคลํากลามเนื้อที่กําลังหดตัวนั้น ๆ ดวย การแบง ระดับกําลังของกลามเนื้อ ดังตอไปนี้ Grade 0 ไมมีการหดตัวของกลามเนื้อเลย Grade 1 มีการหดตัวของกลามเนื้อเกิดขึ้นพอเห็นได Grade 2 เคลื่อนไหวตามแนวราบได เมื่อไมมีความโนมถวงตานไว Grade 3 ตานความโนมถวงไดแตตานแรงทานไมได Grade 4 ออกแรงตานทานไดแตนอยกวาปกติ Grade 5 เคลื่อนไหวและตานแรงไดตามปกติ การตรวจกลามเนื้อและขอแตละสวน 1. Temporo mandibular joint (TMJ) 1.1 ตรวจการเคลื่อนไหว โดยการทําดังตอไปนี้ - ใหผูรับบริการนั่ง พยาบาลใชนิ้วชี้และนิ้วกลางวางหนาหู บอกให ผูรับบริการอาปากออกใหกวางมากที่สุด ปกติจะอาไดกวาง 1-2 นิ้ว คลําดู บริเวณรอยตอของกระดูก Temporal และ Mandibular -ใหผูรับบริการขยับขากรรไกรจากซายไปขวา ขวาไปซาย ปกติจะ เคลื่อนไปได 1-2 เซนติเมตร (ดังภาพที่ 8)
  • 27. อาปากไมได หรือ ไดนอย อาจ เนื่องมาจากการไดรับบาดเจ็บ หรือมีการอักเสบของขอ (Arthritis), ขอตอบวม, บาดเจ็บหรือมีเสียงกรอบแกรบ พบไดใน Arthritis หรือใน TMJ dysfunction (ดังภาพที่ 8) 1.2 ทดสอบกําลังของกลามเนื้อ -ใหผูรับบริการอาปากคางไว ออกแรงตานกับมือพยาบาล ใน ขณะเดียวกันพยาบาลคลําดูการหดเกร็งของกลามเนื้อ Temporal และ Masseter ปกติจะหดเกร็งดี ไมเจ็บและไมกระดก แสดงถึงการทํางานของ เสนประสาทสมองคูที่ 5 (Trigeminal nerve) ปกติ (ดังภาพที่ 9) 2. ขอตอบริเวณกระดูกหนาอกและไหปลารา (Sternoclavicular joint) โดยใหผูรับบริการนั่ง สังเกตบริเวณ Sternoclavicular joint วาอยูในแนวกลาง ภาพที่ 8 แสดงการ เคลื่อนไหวของ TMJ ภาพที่ 9 แสดงกําลัง กลามเนื้อของ Temporal และ Masseter
  • 28. หรือมีกอน แลวคลําดูวากดเจ็บหรือปวดหรือไม ถามี การอักเสบจะมีการบวมแดงหรือกดเจ็บ 3. กระดูกสันหลังสวนคอ (Cervical spine) 3.1 ทดสอบการเคลื่อนไหวกระดูกและกลามเนื้อรอบกระดูกสัน หลังสวนคอ ความผิดปกติที่อาจพบ ไดแก 1. เจ็บเวลากม เงย หรือเอียงจากกลามเนื้อบริเวณคอตึง อาจเกิดจาก การนอนผิดทา หิ้วกระเปาหนัก หรือ ตกจากที่สูง 2. การเคลื่อนไหวทําไดไมเต็มที่รวมกับมีอาการปวดราวไปยังหลัง ไหล หรือแขน เกิดจากกระดูกเสื่อมหรือมีกอนเนื้อ 3. เจ็บบริเวณคอรวมกับชาบริเวณขาอาจเกิดจากไขสันหลังถูกกดทับ -หมุนศีรษะใหไปขางซายและ ขวาใหมากที่สุด (Rotation) -กมหนาเอาคางจรดอก (Flexion) -เงยหนาตั้งตรง Extension) -เงยหนาไปขางหลังใหมาก ที่สุด (Hyperextension) -เอียงคอใหหูเขาใกลไหลให มากที่สุดทั้งซายและขวา (Lateral bending)
  • 29. อาจเกิดจากการติดเชื้อ เชน เยื่อหุมสมองอักเสบ (Meningitis) เปนตน 3.2 การทดสอบกําลังกลามเนื้อ Sternocleidomastoid muscle วิธีที่ 1 โดยการบอกใหผูรับบริการหันหนาไป ทิศทางตรงกันขามกับแรงพยาบาล วิธีที่ 2 ใหผูบริการกมหนาตานแรงพยาบาล ที่พยายามกดหนาผากใหหนาผูรับบริการแหงน ขณะเดียวกันพยาบาลจับดูความแข็งเกร็งของ Sternocleidomastoid muscle วิธีที่ 3 ใหผูรับบริการแหงนขึ้นและเกร็งตาน กับแรงพยาบาลที่พยายามกดใหหนาแหงน ขึ้นอีก ถากลามเนื้อมีความแข็งแรงพอจะไม สามารถใหหนาแหงนขึ้นมากกวาเดิมที่ ผูรับบริการเกร็งไวเปนการทดสอบกําลังของ Trapezius ความผิดปกติอาจพบได คือ ผูรับบริการไมสามารถเกร็งตานแรง พยาบาลได อาจเกิดจากกลามเนื้อออนแรง 4. กระดูกสันหลังสวนอกและเอว (Thoracic and lumbar spine) การดู สังเกตลักษณะกระดูกสันหลัง ใหผูบริการยืนตัวตรง ดูดานหนา ดานหลัง และดานขาง ในคนปกติจะตองยืนตัวตรง มีความสมมาตรของอวัยวะ
  • 30. คือ กระดูกสันหลังคด พบไดใน Scoliosis และเมื่อมองทาง ดานขางมีสวนโคงถูกตอง เขาอยูในแนวตรง เทาวางราบกับพื้น และชี้ตรงไป ขางหนา ถามีการโปงนูนของกระดูกสันหลังสวนอกมาก เรียกวา Kyphosis มัก เกิดเมื่อมีการเสื่อมของกระดูกในวัยชรา โคงของกระดูกสันหลังบริเวณเอว ลดลง มักจะพบไดในหมอนของกระดูกสันหลังเสื่อม (Herniated lumbar disc or ankylosing spondylitis) แตโคงของกระดูกสันหลังสวนเอวเพิ่มมากขึ้นใน เรียกวา Lordosis พบในหญิงตั้งครรภและคนอวน (ดังภาพที่ 10) ภาพที่ 10 แสดงความผิดปกติของกระดูกสันหลัง A Normal Spine B Kyphosis C Lordosis D Normal spine E Mild scoliosis F Severe scoliosis G Rib hump and lank asymmetry การคลํา พยาบาลยืนดานหลังผูรับบริการที่นั่งกมศีรษะเล็กนอย คลํา บริเวณดานหลังลําคอ กระดูก สันหลัง เพื่อหาแนวของกระดูกสันหลังและ อาการกดเจ็บ ปกติกระดูกสันกําลังจะอยูในแนวตรง และกดไมเจ็บ ถากดเจ็บ A C D E F GB
  • 31. (Myositis) หรือหมอนรองกระดูก สันหลังเลื่อน (Herniated vertebral disk) (ดังภาพที่ 11) สังเกตการเคลื่อนไหวของ Thoracic and lumbar spine - ใหกมแตะเทา (Flexion) -ใหแอนตัวไปดานหลัง (Hyperextension) -ใหเอียงตัวไปดานซายและขวา (Lateral Bending) ภาพที่ 11 แสดงการคลํากระดูกสันหลัง
  • 32. Joint) การดูและการคลํา ใหผูรับบริการนั่ง สังเกตดูความสมมาตรของไหล แขน ทั้ง 2 ขาง สังเกตสี อาการบวม และกอน อาการลีบของกลามเนื้อ คลําบริเวณที่ขอกระดูก ใหนอนคว่ําแลวพยายามยกเกร็งศีรษะและ ไหลขึ้นจากที่นอน ถาไมสามารถทําได แสดงถึงการออนแรงของกลามเนื้อที่ทํา หนาที Extension ของกระดูกสันหลัง ถาผูรับบริการมีอาการปวดหลัง (Low back pain) และปวดราวไปยังขาใหทดสอบดวยวิธี Losegue’s test หรือ Straightจนกระทั่งรูสึกเจ็บ พยาบาลดันปลายเทาผูรับบริการขึ้น ถามีอาการ ปวดเพิ่มขึ้นแสดงวามีการเสื่อมของหมอนรอง กระดูก (Weber & kelly, 2003. P. 516)
  • 33. ไดแก ไหลกลวง ยุบลงไปอาจเกิดการเคลื่อนของหัวกระดูก (Dislocation) กลามเนื้อลีบเกิดจากเสนประสาทกลามเนื้อบาดเจ็บหรือขาด การออกกําลังกายสวนนี้ อาการกดเจ็บ บวม แดงและรอน เกิดจากกลามเนื้อ ตึง อักเสบ ทดสอบการเคลื่อนไหวของขอไหล ใหผูรับบริการยืนตรงแขน แนบลําตัว ยกแขนขึ้นไป ดานหนาลําตัว ขอศอก เหยียดตรง ลดแขนลงมา แนบลําตัว เหยียดแขนเลย ไปขางหลัง โดยที่ขอศอก เหยียดตรง กางแขนออก (Abduction) ยกขึ้นเหนือศีรษะ หุบแขนเขาหาลําตัว (Adduction) หรือไขวมือไป ดานตรงขาม
  • 34. rotation) แกวงแขนใหเปนวงกลมรอบ (Circumduction) การเคลื่อนไหวของหัวไหลปกติจะหมุนไดโดยรอบ นอกจากดานที่ติด กับลําตัวหรือดานหลัง ถาเกิดการปวดเฉียบพลันของหัวไหลขางใด แขนขางนั้น จะแนบติดกับลําตัว การเคลื่อนไหวโดยเฉพาะทากางแขนหรือปดออกจาก ลําตัวทําไดยาก เนื่องจากจะเจ็บปวดมาก พบไดในผูปวยที่มีการจับของหิดปูน รอบหัวไหล รวมกับการอักเสบอยางเฉียบพลัน การทดสอบกําลังของกลามเนื้อไหล ใหผูรับบริการกางแขนออก (Abduction) เกร็งแขนตานแรงพยาบาลที่พยายามกดลง ใหแขนผูรับบริการลงแนบตัว
  • 35. ตานกับแรง พยาบาลที่พยายามยกแขนผูรับบริการขึ้น การตรวจขอศอก (Elbow point) การดูและการคลํา สังเกตดูสี อาการบวม กอนของบริเวณ ขอศอก การผิดรูปของขอ คลําวามีอาการ ปวด บวม รอน กดเจ็บหรือไม คลําเอ็นยึด กอน คลําปุมกระดูก Olecranon process, Epicondyle ของกระดูกตนแขนดานขางของ ผูรับบริการ โดยใชหัวแมมือตรวจคลําที่ Lateral epicondyle, นิ้วชี้อยูที่ Olecranon process และนิ้วกลางอยูที่ Medial epicondyle ถามีอาการบวมแดงและกดเจ็บ ก็แสดงวามี Oleranon bursitis
  • 36. หงายฝามือขึ้น (Supination) งอขอศอก คว่ําฝามือลง (Pronation) การตรวจกําลังกลามเนื้อของขอศอก พยาบาลประคองแขนสวน ตนแลว ใหผูรับบริการงอ ขอศอก ดันปลายแขน ออกมา (Extension) ตาน กับแรงพยาบาลเปนการ ตรวจหาความแข็งแรงของ Triceps muscle Supination Pronatio Flexion Extension
  • 37. โดยใหหัวแมมือหัน เขาตัวผูรับบริการ เกร็งตาน แรงพยาบาลที่พยายามดึง แขนออก เปนการทดสอบกําลัง ของกลามเนื้อ Brachioradialis ใหผูรับบริการเหยียดขอศอก พยายามหงายมือขึ้นตานแรง พยาบาลที่พยายามจับดึงไวใน ทิศทางตรงกันขาม เปนการ ทดสอบกําลังของกลามเนื้อที่ทํา หนาที่ Supination
  • 38. Pronation การตรวจนิ้วมือและขอนิ้ว (Wrist Joints and Hand Joints) การดูและการคลํา ดูลักษณะการบวมแดง ตลอดจนการผิดรูปของขอ ขอที่มีการเบี่ยงเบน ไปของ Ulnar หรือ Radial มากเกินไป (Ulnar or radial deviation) พบไดบอย ในผูรับบริการที่เปน Rheumatoid Arthritis คลําบริเวณขอมือและขอนิ้ว เมื่อพบวา บวม รอน กดเจ็บหรือไม ถามีการกดเจ็บ แสดงถึงการอักเสบของขอ ณ บริเวณ นั้น ในการคลํานิ้วพยาบาลใชนิ้วชี้และ นิ้วหัวแมมือ คลําบริเวณขอทั้ง 2 ดาน คลําบริเวณ Interphalangeal joints, Metacarpophalangeal joints และ Radiocarpal groove
  • 39. อาจเปนโรค Osteoarthritis แตถามีอาการบวม นุมและเจ็บปวด บางรายอาจมีอาการขอติดแข็งรวมดวย อาจเปนโรค Rheumatoid arthritis ตรวจการเคลื่อนไหวของขอมือและนิ้วมือ เหยียดขอมือตรง หักขอมือลง (Flexion) เหยียดมือ (Extension) กระดกมือขึ้น (Hyperextension) บิดขอมือใหหัวแมมือเขาหา ลําตัว (Radial Flexion) บิด ขอมือใหปลายนิ้วมือชี้ออกนอก ลําตัว (Ulnar Flexion) กํามือ (Flexion) บีบนิ้วมือเขาหากัน (Adduction)
  • 40. (Opposition) การทดสอบกําลังของกลามเนื้อที่ขอมือและนิ้ว ใหผูรับบริการหงายมือและ กําหมัด พยายามทํา Flexion ตานแรงกับ พยาบาลที่พยายามกดลง เปนการทดสอบกําลังของ กลามเนื้อที่ทําหนาที่ Flexion ที่ขอมือ
  • 41. ของนิ้วมือ ใหผูรับบริการเกร็งเหยียดนิ้วมือ ตานกับแรงพยาบาลที่พยายาม กดลง เปนการทดสอบกําลัง ของกลามเนื้อที่ทําหนาที่ Extension ใหผูรับบริการกํานิ้วของ พยาบาลไวใหแนนดึงสูกับแรง พยาบาลที่พยายามดึง นิ้วออกเปนการทดสอบกําลัง ของกลามเนื้อที่ทําหนาที่ Hand grip ของนิ้วมือ
  • 42. เปนการ ทดสอบกําลังของกลามเนื้อที่ทํา หนาที่ Abduction ของนิ้วมือ ใหผูรับบริการหนีบกระดาษไว ระหวางนิ้วมือใหแนน ตานกับ แรงพยาบาลที่พยายามดึง กระดาษออกเปนการทดสอบ กําลังกลามเนื้อที่ทําหนาที่ Adduction
  • 43. ลักษณะการเดินมีการ เคลื่อนไหวมากนอยเพียงใด ใหเปรียบเทียบกับดานตรงขาม ถามีพยาธิสภาพที่ ขอตะโพก การเดินของผูรับบริการมักจะมีการเคลื่อนไหวของตะโพกนอยมาก ทายืนของผูรับบริการมักจะลงน้ําหนักในขางที่ดี กลามเนื้อตะโพกมักจะเล็กกวา ดานที่ดี ในทานอนจะพบวาขายาวไมเทากัน (Apparent shortening) ควร สังเกตวามีการปดของกระดูก เชิงกรานหรือขารวมดวยหรือไม การตรวจ Trendelenburg test โดยการใหผูรับบริการยืนลงน้ําหนักบน ขาขางหนึ่ง และยกเขาของขางตรงขาม ตามปกติแลวระดับของกระดูก Pelvis (จะใช Iliac crest และ Anteior และ Posterior superior Iliac sine ก็ได) จะ ยกขึ้นในดานที่ไมไดลงน้ําหนัก แตถามีพยาธิสภาพในขอสะโพก เชน Congenital dislocation หรือ การออนแรงของกลามเนื้อสะโพกระดับของ กระดูก Pelvis จะลดต่ํากวาอีกขางหนึ่ง (ดังภาพที่ 12) ภาพที่ 12 แสดงการตรวจ Trendelenburg test A ขอสะโพกปกติ B ขอสะโพกมีพยาธิสภาพ
  • 44. ๆ ทั้ง 2 ขาง ไดแก Anterior superior Iliac spine คลําเพื่อหาวามีการบวม รอน กดเจ็บและมีเสียงกรอบแก รบหรือไม ในรายที่สังเกตวาขายาวไมเทากัน ควรวัดความยาวของเปรียบเทียบ กันทั้ง 2 ขาง การตรวจความเคลื่อนไหวของตะโพก การตรวจการเคลื่อนไหวของขอตะโพกหามทําในผูปวยที่ไดรับการ เปลี่ยนขอตะโพก (Hip replacement) เพราะอาจทําใหเกิดการเคลื่อนหลุดของ ขอตะโพกได เนื่องจากขอตะโพกเปนขอแบบ Ball-and-socket จึงเคลื่อนไหว ไดทุกทิศทาง ทาที่ใชในการตรวจ มีดังนี้ ใหผูรับบริการเหยียดเขาและ ยกสูงขึ้น เทาที่จะทําได (Flexion) กางขาออก (Abduction) หุบขาเขา (Adduction) แกวงขาเปนวงกลม (Circumduction)
  • 45. (External Rotation) การตรวจขอตะโพกที่สงสัยวามีการอักเสบ การตรวจในรายที่สงสัยวามีการอักเสบของขอตะโพก โดยวิธี Fabere test (ดังภาพที่ 13) ใหผูรับบริการงอเขาขางหนึ่ง โดยวางเทาอยูที่บริเวณกระดูก สะบาของเขาอีกขางหนึ่งพยาบาลใชมือดันเขาขางนั้นลงติดพื้นเพื่อใหขาหมุน ออก ตอจากนั้นใหหมุนขอตะโพกเขาดานใน โดยการจับเขาหมุนเขาขางในและ เทาหมุนออกขางนอก ถามีการอักเสบที่ขอตะโพก จะดันเขาขางนั้นไดนอยและ จะทําใหมีอาการปวดที่ตะโพก การตรวจขอตะโพกอีกขางก็เชนเดียวกัน ภาพที่ 13 แสดงวิธีการตรวจ ขอตะโพกที่สงสัยวามีการ อักเสบดวยวิธี Fabere test
  • 46. ของขอตะโพก การตรวจขอเขา (Knee joints) การดู ดูผิวหนังวามีกลามเนื้อลีบหรือไม สีผิว อาการบวม เปรียบเทียบกันทั้ง 2 ขาง การคลํา คลําดูวามีบวมรอนและกดเจ็บหรือไม มีน้ําอยูในขอหรือไม ขอเขาปกติจะมีสารน้ําหลอเลี้ยงประมาณ 3-5 มิลลิเมตร หากมีการอักเสบหรือ การติดเชื้อ จะทําใหมีสารน้ําในขอมากขึ้น วิธีที่ใชตรวจเมื่อมีสารน้ําในขอเขา
  • 47. ไดแก Patellar stroke test หรือ Fluid displacement test หรือ Bulge sign โดยการดันน้ําจากดานในของ Patellar หรือดันน้ําจาก ดานนอก Patellar แลวสังเกตการโปงของผิวขอดานตรงขาม เชน เมื่อดัน ทางดานใน ดานนอกจะโปงออกมาใหเห็น (ดังภาพที่ 14) เปนตน ดัน Fluid จากทางดานใน ดัน fluid จากทางดานนอก ภาพที่ 14 แสดงการตรวจ Patellar stroke test or Fluid displacement test หรือ Bulge sign) การตรวจการเคลื่อนไหวของขอเขา ใหผูรับบริการงอ (Flexion ) และเหยียดเขา (Extension)
  • 48. Flexion ของเขา ใหผูรับบริการงอเขาพยาบาล พยุงใตเขาแลวใหผูรับบริการ พยายามเหยียดเขาออกตานกับ แรงพยาบาลที่พยายามกดไว เปนการทดสอบกําลังกลามเนื้อ ที่ทําหนาที่ Extension ขอเขา การตรวจขอเทาและขอนิ้วเทา (Anklejointsandmetatarsaljoints) การดูและการคลํา ดูสีผิว อาการบวม และลักษณะรูปรางความ ผิดปกติที่พบบอยในเด็กทารก ไดแก เทาปุก (Club foot) การบิดเขาของฝาเทา (ดังภาพที่ 15) การคลําใหคลําวามีการบวม รอน และกดเจ็บหรือไม การตรวจการเคลื่อนไหวของขอเทาและขอนิ้วเทา ภาพที่ 15 แสดงเทาปุก (Club foot)
  • 49. ของขอเทา ใหผูรับบริการพยายามกระดกเทาขึ้น ตานแรงพยาบาลที่พยายามกดลง เปน การทดสอบกําลังกลามเนื้อที่ทําหนาที่ Extension ของขอเทา ใหผูรับบริการพยายามบิดเทาเขาขาง ในตานกับแรงพยาบาลที่พยายามบิด ออก เปนการทดสอบกําลังกลามเนื้อที่ ทําหนาที่ Inversion ของขอเทา ใหผูรับบริการพยายามบิดฝาเทาออก ขางนอก ตานกับแรงพยาบาลที่ พยายามบิดเขา เปนการทดสอบ กําลังกลามเนื้อที่ทําหนาที่ Eversion ของขอเทา
  • 50. เหยียดนิ้วเทาออก ตานแรงพยาบาลที่กดไวเปนการ ทดสอบกําลังกลามเนื้อที่ทําหนาที่ Extensionของขอนิ้วเทา การตรวจพิเศษ การตรวจพิเศษในทางออรโธปดิกส มีจุดประสงคเพื่อหาพยาธิสภาพ ของโครงสรางกระดูกและขอที่อวัยวะอื่นคลุมอยู ทําใหการตรวจไมชัดเจน ใน ที่นี้จะกลาวถึงการตรวจที่สําคัญเทานั้น The Yergason test เปนการตรวจวามี Tendonitis หรือไม (ดุษฎี ทัต ตานนท, 2542) โดยใหผูรับบริการงอขอศอก ทํา External rotation พรอมกับ เกร็งขอศอกขึ้น ถามีอาการเจ็บปวดขึ้นที่ไหล แสดงวามี Tendonitis
  • 51. เปนการตรวจวามีการขาดของเอ็นที่พาดผานทั้ง กระดูก Humerus (Rotator cuff) หรือไม (ดุษฎี ทัตตานนท, 2542) โดยให ผูรับบริการกางแขนออก (Abduction)(A) แลวคอยๆ ลดแขนมาแนบลําตัวขางๆ ถามี Rotator Cuff ฉีกขาด แขนจะตกลงมาเมื่อกางแขนได 90o หรือหาก สามารถกางแขนยกไวไดที่ 90o เพียงผูตรวจใชนิ้วกด/เคาะที่แขนจะตกลง มา (B) Tennis Elbow Test เปนการตรวจเพื่อหาวามีการอักเสบของ Common extensor epicondylitis (Tennis elbow) หรือไม (ดุษฎี ทัตตานนท, 2542) ผูตรวจจับหลังมือและขอศอกของผูรับบริการ แลวใหผูรับบริการกํามือ และกระดูกขอมือในทา Pronation จากนั้นใชนิ้วกดบริเวณ Lateral epicondyle ถามีการอักเสบจะมีอาการเจ็บอยางมากตรงบริเวณที่กด A B
  • 52. Length Discrepancy เปนการวัดหาความยาวของขา ทั้งสองขางเพื่อหาตนเหตุของการเดินกะเผลกจากขายาวไมเทากัน (ดุษฎี ทัต ตานนท, 2542) โดยใหนอนหงาย ใชสายเทปวัดระยะจาก Anterior superior iliac spine ไปยัง Medial malleolus ของขอเทาในตําแหนงเดียวกันทั้ง 2 ขาง หากวัดไดแตกตางกัน แสดงวามีกระดูกขาสั้น ยาวไมเทากัน จากนั้นตรวจหาวา สวนที่สั้นนั้นเปนจากกระดูก FemurหรือTibia โดยใหชันเขาขึ้นงอ 90O ทั้ง 2ขาง แลวดูระยะสูงต่ําเปรียบเทียบกัน Apparent leg Length Discrepancy ใหนอนหงายแลววัดความ ยาวจากสะดือลงมายัง Medial malleolus ที่ขอเทาทั้ง 2 ขาง หากวัดไดไม เทากัน แสดงวามีลักษณะปรากฏของขาสั้นยาวไมเทากันและหากตรวจ True Leg length discrepancy ไดเทากัน แสดงวาความผิดปกตินั้นเกิดจากการ เอียงของ Pelvic (Pelvic obliquity) หรือจาก Adduction หรือ Flexion deformity ของ Hip joint (ดุษฎี ทัตตานนท, 2542)
  • 53. test เปนการตรวจวามีการตึงของ Spinal cord, Cauda equina หรือ Sciatic nerve หรือไม มี 2 วิธี (ดุษฎี ทัตตานนท, 2542) วิธีที่ 1 Straight leg raising test ใหนอนหงาย ผูตรวจยืนดานขาง แลวใชมือรองบริเวณสนเทาของผูรับบริการแลวยกขาขึ้น เขาเหยียดตรง โดย ปกติควรยกได 70-90o โดยไมเจ็บหรืองอเขา แตหากมีอาการเจ็บขาหรือหลัง แสดงถึงพยาธิสภาพของ Sciatic nerve หรือกลามเนื้อ Hamstring จากนั้นลด ระดับลงมาเล็กนอยจนหายเจ็บ แลวจับเทากระดกขึ้น (Dorsiflex) หากมีอาการ เจ็บอีก แสดงวาเกิดจาก Sciatic nerve ตึง แตถาไมเจ็บแสดงวานาจะเปนจาก Hamstring muscle tightness วิธีที่ 2 Well leg straight raising test ใหนอนหงาย ผูตรวจยกขา ขางที่ไมปวดขึ้น หากมีอาการปวดหลังหรือขาดานตรงขามแสดงวามี Herniated disc บริเวณไขสันหลัง เอว อาจเรียกวิธีการตรวจนี้า Cross leg straight leg raising test (ดุษฎี ทัตตานนท, 2542)
  • 54. (Malingering) หรือไม (ดุษฎี ทัตตานนท, 2542) ใหนอนหงาย ผูตรวจยืนบริเวณปลายเทาใชอุงมือทั้ง 2 ขาง รองใตสนเทาทั้ง 2 ขาง ของ ผูรับบริการ แลวใหผูรับบริการยกขาขางที่ปวดขึ้น ถาปวดขาจริงจะยกขาไมขึ้น และพยายามกดเทาอีกขางหนึ่งเพื่อเปนตัวยกขาจนผูตรวจรูสึกได แตถาไมมี น้ําหนักกดลง แสดงวาอาจไมเจ็บขาจริง (ดังภาพที่ 16) A B ภาพที่ 16 การตรวจดวยวิธี Hoover Test A ปวดจริง เพราะมีการลงน้ําหนักในเทาซายขณะยกขาขวา B แกลงทํา ไมมีแรงกดที่เทาซายขณะยกขาขวาขึ้น Magnetic resonance imaging (MRI) คือการตรวจโดยใชเครื่องมือที่ ใชสําหรับสรางภาพอวัยวะภายในรางกาย โดยอาศัยหลักการของคลื่น แมเหล็กไฟฟาและคลื่นวิทยุ แลวนําสัญญาณที่ไดมาประมวลผลดวย คอมพิวเตอร ทําใหไดภาพอวัยวะภายในของรางกาย ที่มีความคมชัด อีกทั้ง สามารถทําการตรวจไดในทุกๆ ระนาบ ไมใชเฉพาะแนวขวางอยางเอกซเรย
  • 55. เสนเอ็นยึดกระดูกและกลามเนื้อ ปจจุบันไดใช เพื่อชวยในการ วินิจฉัยโรคของกระดูกและขอเปนจํานวนมาก การตรวจ MRI จะเห็นความผิด ปกติที่เกิดขึ้นภายในโพรงกระดูก หรือไขกระดูกไดอยางชัดเจน เชน เนื้องอก ภายในกระดูก MRI จะสามารถบอกขอบเขตของโรคไดถูกตองแมนยํา เพื่อ ประโยชนในการวางแผนการรักษา โรคของกระดูกบางอยางเชน การขาดเลือด ไปเลี้ยงที่หัวของกระดูกตนขา MRI เปนการตรวจที่ไวที่สุด สามารถตรวจพบ ความผิดปกติได แมภาพเอ็กซเรยธรรมดายังปกติอยู ขอที่มีการตรวจ MRI มาก ที่สุด คือ ขอเขา รองลงมา คือ ขอไหล เมื่อสงสัยวาจะมีการฉีกขาดของเสนเอ็น หรือกระดูกออนภายในขอ การถายภาพเอ็กซเรยธรรมดา อาจเห็นเพียงเงาของ น้ําในขอ แต MRI จะเห็นสวนประกอบตางๆ ภายในขอไดอยางชัดเจน และบอก ไดอยางแมนยําวามีการบาดเจ็บตอสวนประกอบเหลานั้นอยางไรบาง (Science News: บทความทางวิทยาศาสตร, 2553, หนา 5) สรุป การประเมินภาวะสุขภาพของระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอ พยาบาลจะใชหลักการดู คลํา และมีการวัด เปนหลักการสําคัญของการตรวจ รางกาย จะไมมีผลการตรวจทางหองปฏิบัติการที่เฉพาะเจาะจงกับการประเมิน ภาวะสุขภาพระบบกระดูก กลามเนื้อ และขอ และในบางรายอาจจะตองไดรับ การตรวจพิเศษเพื่อวินิจฉัยแยกโรค เพื่อใหผลการตรวจที่แมนยํา

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ศัพท์ทางทหาร military words แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 พจนานุกรมศัพท์ทหาร ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค lmyour แปลภาษา การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ประปาไม่ไหล วันนี้ ฝยก. ย่อมาจาก หยน ห่อหมกฮวก แปลว่า เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน ่้แปลภาษา onet ม3 การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ตตตตลก บบบย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ เขียน อาหรับ แปลไทย เนื้อเพลง ห่อหมกฮวก แปลไทย asus zenfone 2e กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การประปานครหลวง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบภาษาอังกฤษ ม.ปลาย พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ชขภใ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน นยน. ย่อมาจาก ทหาร บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ฝสธ. ย่อมาจาก มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 ซับไทย มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 เต็มเรื่อง ยศทหารบก เรียงลําดับ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 รัชกาลที่ 10 ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด