การผล ตส อนว ตกรรมด านภ ม สารสนเทศเพ อใช ในการสอนและผล ตผลงาน

42

ออกแบบระบบ และโปรแกรมเมอร์ประยุกต์ใช้งาน เพื่อให้การบริหารการใช้งานเป็นไปอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ

5. ข้ันตอนการปฏบิ ัตงิ าน (Procedures) ในระบบฐานข้อมูลควรมีการจัดทาเอกสารท่ีระบุข้ันตอนการทางานของหน้าท่ีการงานต่างๆในระบบ ฐานข้อมูล ในสภาวะปกติและในสภาวะท่ีระบบเกิดปัญหา( Failure)ซ่ึงเป็นข้ันตอนการปฏิบัติงานสาหรับ บุคลากรทกุ ระดับขององคก์ ร โปรแกรมจัดการขอ้ มลู (Data Management Software)

โปรแกรมจัดการข้อมูล คอื โปรแกรมสาหรับการสร้าง จดั การ และรวบรวมข้อมูลจากไฟลต์ ่างๆ โดยมีเครื่องมืออานวยความสะดวกในการสร้างระบบสารสนเทศต่างๆ ได้ เพื่อให้ข้อมูลถูกจัดเก็บในรูป แฟ้มขอ้ มูล

ปัจจุบัน ความต้องการใช้ข้อมูลเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และเพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีทันต่อสถานการณ์ ปัจจบุ นั มากทสี่ ุด จึงทาใหม้ ีการนาฐานข้อมลู มาประยุกต์ใชใ้ นส่วนงานตา่ งๆ เพิม่ มากขน้ึ ผจู้ ดั การฐานขอ้ มูล (Database Administrator)

ผู้จัดการฐานข้อมูล (Database Administrator) : เป็นผู้ดูแลท้ังฐานข้อมูลและระบบจัดการ ฐานข้อมูล มีหน้าท่ีรับผิดชอบด้านความปลอดภัยของข้อมูล ประสานงานและตรวจสอบการใช้ งาน รวมท้งั จดั หาและดูแลรกั ษาอุปกรณ์ท้ังทางด้านฮาร์ดแวรแ์ ละซอฟต์แวร์ ประโยชน์ของระบบจดั การฐานข้อมูล

1. ในกรณีท่ตี ้องการจะปรับปรงุ ฐานข้อมูลสามารถทาไดส้ ะดวกและรวดเร็ว 2. การจดั เรยี งข้อมลู จะเป็นระเบียบ ไม่ซ้าซ้อน ลดขั้นตอนของการทางาน 3. เม่ือมีการใช้จัดการฐานข้องมูลอย่างเป็นระบบจึงทาให้สามารถเข้าไปใช้งานได้ทุกคน 4. เมื่อข้อมูลมีการจัดการอย่างเป็นระเบียบแล้ว จึงทาให้สามารถรักษาความปลอดภัยได้ง่าย และมี ประสทิ ธภิ าพ 5. สามารถทจ่ี ะปรบั ปรุงขอ้ มูลไดง้ ่าย ประโยชน์ของการจัดเกบ็ ข้อมูลแบบรวมศนู ย์ ในปัจจุบันองค์กรส่วนใหญ่หันมาให้ความสนใจกับระบบฐานข้อมูลกันมาก เนื่องจากระบบฐานข้อมูลมี ประโยชน์ดงั ตอ่ ไปนี้ 1.ลดความซา้ ซอ้ นของขอ้ มูล เน่ืองจากการใช้งานระบบฐานข้อมูลนั้นต้องมีการออกแบบฐานข้อมูลเพ่ือให้มีความซ้าซ้อนของข้อมูลน้อย ท่ีสุด จุดประสงค์หลักของการออกแบบฐานข้อมูลเพื่อการลดความซ้าซ้อน สาเหตุที่ต้องลดความซ้าซ้อน เน่ืองจากความยากในการปรับปรุงข้อมูล กล่าวคือถ้าเก็บข้อมูลซ้าซ้อนกันหลายแห่ง เม่ือมีการปรับปรุง ข้อมูลแล้วปรับปรุงข้อมูลไม่ครบทาให้ข้อมูลเกิดความขัดแย้งกันของข้อมูลตามมา และยังเปลืองเนื้อท่ีการ จดั เกบ็ ขอ้ มูลด้วย เนื่องจากขอ้ มูลชุดเดยี วกนั จดั เกบ็ ซ้ากันหลายแหง่ นน่ั เอง

43

ถงึ แม้ว่าความซ้าซ้อนช่วยให้ออกรายงานและตอบคาถามได้เร็วขึ้น แต่ข้อมูลจะเกิดความขดั แย้งกัน ในกรณี ท่ีต้องมีการปรับปรุงข้อมูลหลายแห่ง การออกรายงานจะทาได้เร็วเท่าใดนั้นจึงไม่มีความหมายแต่อย่างใด และเหตผุ ลท่ีสาคัญอีกประการหนง่ึ คือปัญหาเร่อื งความขดั แยง้ กันของขอ้ มูลแก้ไขไมไ่ ดด้ ้วยฮาร์ดแวร์ ขณะที่ การออกรายงานช้าน้ันใช้ความสามารถของฮารด์ แวร์ชว่ ยได้

2.รกั ษาความถกู ตอ้ งของข้อมลู เนื่องจากระบบจัดการฐานข้อมูลสามารถตรวจสอบกฎบังคับความถูกต้องของข้อมูลให้ได้ โดยนากฎ เหล่าน้ันมาไว้ที่ฐานข้อมูล ซึ่งถือเป็นหน้าที่ของระบบจัดการฐานข้อมูลที่จะจัดการเรื่องความถูกต้องของ ข้อมูลให้แทน แต่ถ้าเป็นระบบแฟ้มข้อมูลผู้พฒั นาโปรแกรมต้องเขียนโปรแกรมเพ่ือควบคมุ กฎระเบียบต่างๆ (data integrity) เองท้ังหมด ถ้าเขียนโปรแกรมครอบคลุมกฎระเบียบใดไม่ครบหรือขาดหายไปบางกฎอาจ ทาให้ข้อมูลผิดพลาดได้ และยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในการบารุงรกั ษาและพัฒนาโปรแกรมด้วย เน่ืองจากระบบ จัดการฐานข้อมูลจัดการใหน้ ั่นเอง เน่ืองจากระบบจัดการฐานข้อมูลสามารถรองรบั การใช้งานของผู้ใช้หลาย คนพร้อมกันได้ ดังนั้นความคงสภาพและความถูกต้องของข้อมูลจึงมีความสาคัญมากและต้องควบคุมให้ดี เน่ืองจากผู้ใช้อาจเปล่ียนแปลงแก้ไขข้อมูลได้ ซ่ึงจะทาให้เกิดความผิดพลาดกระทบต่อการใช้ข้อมูลของผู้ใช้ อืน่ ท้ังหมดได้ ดังนน้ั ประโยชน์ของระบบฐานขอ้ มูลในเร่อื งน้ีจึงมคี วามสาคัญมาก

3. มคี วามเป็นอิสระของข้อมูล เน่ืองจากมีแนวคิดท่ีว่าทาอย่างไรให้โปรแกรมเป็นอิสระจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างข้อมูล ใน ปัจจุบันน้ีถ้าไม่ใช้ระบบฐานข้อมูลการแก้ไขโครงสร้างข้อมูลจะกระทบถึงโปรแกรมด้วย เนื่องจากในการ เรียกใช้ข้อมูลที่เก็บอยู่ในระบบแฟ้มข้อมลู นั้น ต้องใช้โปรแกรมที่เขยี นขึ้นเพอื่ เรียกใช้ข้อมูลในแฟ้มข้อมูลน้ัน โดยเฉพาะ เช่น เม่ือต้องการรายชื่อพนักงานท่ีมีเงินเดือนมากกว่า 100,000 บาทต่อเดือน โปรแกรมเมอร์ ต้องเขียนโปรแกรมเพ่ืออ่านข้อมูลจากแฟ้มข้อมูลพนักงานและพิมพ์รายงานที่แสดงเฉพาะข้อมูลที่ตรงตาม เง่ือนไขที่กาหนด กรณีท่ีมีการเปล่ียนแปลงโครงสร้างของแฟ้มข้อมูลข้อมูลเช่น ให้มีดัชนี (index) ตามชื่อ พนักงานแทนรหัสพนกั งาน ส่งผลให้รายงานท่ีแสดงรายชื่อพนักงานท่ีมีเงินเดือนมากกวา่ 100,000 บาทต่อ เดือนซ่ึงแต่เดิมกาหนดให้เรียงตามรหัสพนักงานนั้นไม่สามารถพิมพ์ได้ ทาให้ต้องมีการแก้ไขโปรแกรมตาม โครงสรา้ งดชั นี (index) ที่เปล่ียนแปลงไป ลักษณะแบบนีเ้ รยี กว่าขอ้ มูลและโปรแกรมไมเ่ ป็นอิสระต่อกนั สาหรับระบบฐ านข้อมูลนั้นข้อมูลภายในฐ านข้อมูลจะเป็นอิสระจากโ ปรแกรมที่เรียกใช้ (dataindependence) สามารถแก้ไขโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลได้ โดยไม่กระทบต่อโปรแกรมที่ เรียกใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูล เน่ืองจากระบบฐานข้อมูลมีระบบจัดการฐานข้อมูลทาหน้าท่ีแปลงรูป (mapping) ให้เป็นไปตามรูปแบบที่ผู้ใช้ต้องการ เนื่องจากในระบบแฟ้มข้อมูลนั้นไม่มีความเป็นอิสระของ ข้อมูล ดังน้ันระบบฐานข้อมูลได้ถูกพัฒนาข้ึนมาเพื่อแก้ปัญหาด้านความเป็นอิสระของข้อมูล น่ันคือระบบ ฐานข้อมูลมีการทางานไม่ข้ึนกับรูปแบบของฮาร์ดแวร์ท่ีนามาใช้กับระบบฐานข้อมูลและไม่ข้ึนกับโครงสร้าง ทางกายภาพของข้อมูล และมีการใช้ภาษาสอบถามในการติดต่อกับข้อมูลภายในฐานข้อมูลแทนคาส่ังของ ภาษาคอมพิวเตอรใ์ นยคุ ท่ี 3 ทาใหผ้ ูใ้ ชเ้ รยี กใช้ขอ้ มลู จากฐานขอ้ มลู โดยไม่จาเป็นต้องทราบรปู แบบการ

44

จดั เกบ็ ข้อมลู ประเภทหรือขนาดของขอ้ มลู นัน้ ๆ 4. มีความปลอดภยั ของข้อมลู สงู

ถา้ หากทุกคนสามารถเรียกดูและเปล่ียนแปลงข้อมูลในฐานข้อมูลทั้งหมดได้ อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อ ข้อมูลได้ และข้อมูลบางส่วนอาจเป็นข้อมูลที่ไม่อาจเปิดเผยได้หรือเป็นข้อมูลเฉพาะของผู้บริหาร หากไม่มี การจดั การดา้ นความปลอดภยั ของขอ้ มูล ฐานขอ้ มูลก็จะไมส่ ามารถใชเ้ ก็บขอ้ มูลบางสว่ นได้ ระบบฐานข้อมลู สว่ นใหญ่จะมกี ารรกั ษาความปลอดภัยของข้อมูล ดังน้ี มีรหัสผู้ใช้ (user) และรหัสผ่าน (password) ในการเข้าใช้งานฐานข้อมูลสาหรับผู้ใช้แต่ละคนระบบ ฐานข้อมูลมีระบบการสอบถามชื่อพร้อมรหัสผ่านของผู้เข้ามาใช้ระบบงานเพื่อให้ทางานในส่วนที่เก่ียวข้อง เทา่ น้นั โดยป้องกันไมใ่ หผ้ ทู้ ่ีไมไ่ ดร้ บั อนญุ าตเขา้ มาเหน็ หรือแก้ไขข้อมูลในสว่ นทีต่ ้องการปกปอ้ งไว้ ในระบบฐานข้อมูลสามารถสร้างและจัดการตารางข้อมูลท้ังหมดในฐานข้อมูล ท้ังการเพิ่มผู้ใช้ ระงับการใช้ งานของผู้ใช้ อนุญาตให้ผ้ใู ช้สามารถเรียกดู เพ่ิมเติม ลบและแก้ไขขอ้ มูล หรือบางส่วนของข้อมูลได้ในตาราง ที่ได้รับอนุญาต) ระบบฐานข้อมูลสามารถกาหนดสิทธิการมองเห็นและการใช้งานของผู้ใช้ต่างๆ ตามระดับ สิทธแิ ละอานาจการใช้งานขอ้ มูลนั้นๆ ในระบบฐานข้อมูล (DBA) สามารถใช้วิว (view) เพื่อประโยชน์ในการรกั ษาความปลอดภัยของข้อมูลไดเ้ ป็น อย่างดี โดยการสร้างวิวที่เสมือนเป็นตารางของผู้ใช้จริงๆ และข้อมูลที่ปรากฏในวิวจะเป็นข้อมูลท่ีเก่ียวข้อง กับงานของผู้ใช้เท่านั้น ซง่ึ จะไม่กระทบกบั ข้อมูลจริงในฐานขอ้ มลู ระบบฐานข้อมูลจะไม่ยอมใหโ้ ปรแกรมใดๆ เขา้ ถึงขอ้ มูลในระดับกายภาพ (physical) โดยไม่ผ่าน ระบบการ จัดการฐานข้อมูล และถ้าระบบเกิดความเสียหายข้ึนระบบจัดการฐานข้อมูลรับรองได้ว่าข้อมูลที่ยืนยันการ ทางานสาเร็จ (commit) แล้วจะไม่สูญหาย และถ้ากลุ่มงานที่ยังไม่สาเร็จ (rollback) น้ันระบบจัดการ ฐานขอ้ มลู รบั รองไดว้ า่ ข้อมูลเดมิ กอ่ นการทางานของกลมุ่ งานยังไม่สูญหาย มีการเข้ารหัสและถอดรหัส (encryption/decryption) เพื่อปกปิดข้อมูลแก่ผู้ที่ไม่เก่ียวข้อง เช่น มีการ เขา้ รหัสขอ้ มูลรหัสผ่าน

5. ใช้ขอ้ มลู ร่วมกันโดยมกี ารควบคมุ จากศนู ย์กลาง มีการควบคุมการใช้ข้อมูลในฐานข้อมูลจากศูนย์กลาง ระบบฐานข้อมูลสามารถรองรับการทางานของผู้ใช้ หลายคนได้ กล่าวคือระบบฐานข้อมลู จะต้องควบคมุ ลาดับการทางานใหเ้ ป็นไปอย่างถกู ต้อง เช่นขณะที่ผู้ใช้ คนหน่ึงกาลังแก้ไขข้อมูลส่วนหนึ่งยังไม่เสร็จ ก็จะไม่อนุญาตใหผ้ ู้ใช้คนอนื่ เข้ามาเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลนั้น ได้ เน่อื งจากขอ้ มูลท่ีเข้ามายังระบบฐานข้อมูลจะถูกนาเข้าโดยระบบงานระดับปฏิบัตกิ ารตามหนว่ ยงานย่อย ขององค์กร ซ่ึงในแต่ละหน่วยงานจะมีสิทธิในการจัดการข้อมูลไม่เท่ากัน ระบบฐานข้อมูลจะทาการจัดการ ว่าหน่วยงานใดใช้ระบบจัดการฐานข้อมูลในระดับใดบ้าง ใครเป็นผนู้ าข้อมูลเข้า ใครมีสิทธิแก้ไขข้อมูล และ ใครมสี ิทธิเพียงเรยี กใชข้ ้อมลู เพ่ือท่จี ะให้สิทธิท่ีถกู ตอ้ งบนตารางท่ีสมควรใหใ้ ช้ กระบวนการจัดการขอ้ มลู และสารสนเทศ การทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศที่จะเป็นประโยชนต์ ่อการใช้งาน จาเปน็ ต้องอาศยั เทคโนโลยีเข้ามาช่วยใน

45

การดาเนินการ เริ่มต้ังแต่การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล การดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็น สารสนเทศ และการดแู ลรักษาสารสนเทศ เพอื่ การใชง้ าน

1. การรวบรวมและตรวจสอบข้อมลู ควรประกอบด้วย 1.1 การรวบรวมขอ้ มลู เป็นเรื่องของการเกบ็ รวบรวมข้อมูลซึ่งมีจานวนมาก และต้องเก็บให้ได้

อย่างทันเวลา เช่น ข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของนักเรียน ข้อมูลประวัติบุคลากร ปัจจบุ ันมีเทคโนโลยีช่วย ในการจัดเก็บอยู่เป็นจานวนมาก เช่น การป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ การอ่านข้อมูลจากรหัสแท่ง การตรวจใบลงทะเบยี นท่มี กี ารฝนดินสอดาในตาแหนง่ ต่าง ๆ เป็นวิธีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เช่นกัน

1.2 การตรวจสอบข้อมูล เมื่อมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจาเป็นต้องมีการตรวจสอบข้อมูล เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบจะต้องมีความน่าเชื่อถือ หากพบท่ีผิดพลาดต้องแก้ไข การตรวจสอบข้อมลู มีหลายวิธี เช่น การใชผ้ ปู้ อ้ นขอ้ มูลสองคนปอ้ นข้อมลู ชดุ เดยี วกัน เขา้ เครื่องคอมพวิ เตอร์ แลว้ เปรยี บเทยี บกัน หรอื ตงั้ กฎเกณฑใ์ หค้ อมพวิ เตอรต์ รวจสอบ

2. การประมวลผลขอ้ มูล ประกอบด้วยกจิ กรรมดงั ต่อไปนี้ 2.1 การจัดกลุ่มข้อมูล ข้อมูลท่ีจัดเก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อเตรียมไว้สาหรับการ ใช้

งาน การแบ่งแยกกลุ่มมีวิธีการทชี่ ัดเจน เช่น ข้อมลู ในโรงเรียนมีการแบ่งเป็นแฟ้มประวตั ินักเรียน และแฟ้ม ลงทะเบยี น เพือ่ ความสะดวกในการคน้ หา

2.2 การจดั เรียงขอ้ มูล เมอื่ จัดแบ่งกลมุ่ เป็นแฟ้มแลว้ ควรมีการจัดเรียงข้อมลู ตามลาดับ ตวั เลข หรือตัวอกั ษร หรือเพ่ือให้เรียกใช้งานได้ง่าย ประหยัดเวลา ตัวอย่างการจัดเรียงขอ้ มูล เชน่ การจัดเรียงบัตร ขอ้ มูลผแู้ ตง่ หนังสอื ในตู้บตั รรายการของห้องสมดุ ตามลาดับตัวอักษร การจดั เรยี งชื่อคนในสมดุ รายนามผู้ใช้ โทรศพั ท์ตามลาดบั ตัวอกั ษร

2.3 การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีจานวนมาก จาเป็นต้องมกี ารสรุปผลหรือสรปุ รายงาน เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ ข้อมูลที่สรุปได้น้ีอาจส่ือความหมายได้ดีกว่า เช่น สถิติจานวนนักเรียนแยกตามชั้น เรยี นแตล่ ะช้ัน

2.4 การคานวณข้อมลู ทเ่ี ก็บรวบรวมมีเปน็ จานวนมากข้อมูลบางส่วน เป็นข้อมลู ตัวเลขทีส่ ามารถ นาไปคานวณ เพื่อหาผลลัพธ์บางอยา่ งได้ ดังนน้ั การสร้างสารสนเทศจากข้อมูลจึงอาศัยการคานวณข้อมูลท่ี เกบ็ ไว้ด้วย เชน่ การคานวณเกรดเฉลีย่ ของนกั เรียนแตล่ ะคน

3. การดแู ลรักษาข้อมูล ประกอบด้วยกจิ กรรมต่อไปนี้ 3.1 การเกบ็ รักษาข้อมลู การเก็บรักษาขอ้ มลู หมายถึง การนาข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึก

ต่าง ๆ เช่น แผ่นบันทึกข้อมูล นอกจากนี้ยังรวมถึงการดูแล และทาสาเนาข้อมูล เพื่อให้ใช้งานต่อไปใน อนาคตได้

3.2 การทาสาเนาข้อมูล การทาสาเนาเพื่อท่ีจะนาข้อมูลเก็บรักษาไว้ หรือนาไปแจกจ่ายใน ภายหลงั จงึ ควรคานึงถึงความจุและความทนทานของสอ่ื บนั ทึกข้อมูล

3.3 การส่ือสารและเผยแพร่ข้อมูล ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่างไกลได้ง่าย การสอ่ื สารขอ้ มูลจงึ เปน็ เรอ่ื งสาคัญและมบี ทบาทที่สาคัญย่ิงทจ่ี ะทาใหก้ ารส่งขา่ วสารไปยังผใู้ ช้

46

ทาได้รวดเรว็ และทันเวลา 3.4 การปรับปรุงข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียกใช้งานได้ต่อไป ดังนั้นข้อมูลจึง

ตอ้ งมกี ารปรบั ปรุงใหท้ ันสมัยอยู่ตลอดเวลา และจัดเกบ็ อยา่ งเป็นระบบเพ่ือการค้นหาได้อย่างรวดเรว็ 16.เทคโนโลยสี อื่ สารโทรคมนาคม

เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม ใชใ้ นการติดต่อสื่อสารรับ/ส่งขอ้ มลู จากที่ไกล ๆ เปน็ การส่งของข้อมลู ระหวา่ งคอมพิวเตอร์หรอื เคร่ืองมือท่ีอยหู่ า่ งไกลกัน ซึง่ จะช่วยใหก้ ารเผยแพร่ข้อมูลหรือสารสนเทศไปยังผู้ใช้

ในแหล่งต่าง ๆ เปน็ ไปอย่างสะดวก รวดเร็ว ถกู ต้อง ครบถ้วน และทันการณ์ ซ่ึงรปู แบบของข้อมูลท่ี รบั /ส่งอาจเป็นตวั เลข (Numeric Data) ตวั อกั ษร (Text) ภาพ (Image) และเสียง (Voice) เทคโนโลยีที่ใช้ในการสอ่ื สารหรือเผยแพรส่ ารสนเทศ ได้แก่ เทคโนโลยที ใ่ี ช้ในระบบโทรคมนาคมทง้ั ชนดิ มี สายและไร้สาย เชน่ ระบบโทรศพั ท์, โมเด็ม, แฟกซ์, โทรเลข, วิทยุกระจายเสียง, วิทยโุ ทรทัศน์ เคเบิ้ลใย แกว้ นาแสง คลื่นไมโครเวฟ และดาวเทียม เปน็ ต้น สาหรับกลไกหลกั ของการสื่อสารโทรคมนาคมมีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วน ไดแ้ ก่ ตน้ แหล่งของขอ้ ความ (Source/Sender), สอื่ กลางสาหรบั การรับ/สง่ ข้อความ (Medium), และสว่ นรับข้อความ (Sink/Decoder) ดังแผนภาพต่อไปน้ี คือ

แผนภาพแสดงกลไกหลกั ของการสอ่ื สารโทรคมนาคม นอกจากน้ี เทคโนโลยสี ารสนเทศสามารถจาแนกตามลักษณะการใช้งานไดเ้ ปน็ 6 รปู แบบ ดังนต้ี อ่ ไปน้ี คือ

1.เทคโนโลยีที่ใช้ในการเก็บข้อมลู เช่น ดาวเทยี มถา่ ยภาพทางอากาศ, กล้องดจิ ิทลั , กลอ้ งถา่ ยวดี ีทัศน์, เคร่อื งเอกซเรย์ ฯลฯ

2.เทคโนโลยีทีใ่ ช้ในการบันทึกข้อมลู จะเปน็ สอ่ื บนั ทึกข้อมูลต่าง ๆ เช่น เทปแมเ่ หลก็ , จานแมเ่ หลก็ , จานแสงหรอื จานเลเซอร์, บัตรเอทเี อม็ ฯลฯ

3.เทคโนโลยที ่ีใช้ในการประมวลผลข้อมลู ไดแ้ ก่ เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ทง้ั ฮารด์ แวร์ และซอฟตแ์ วร์ 4.เทคโนโลยีทีใ่ ช้ในการแสดงผลข้อมลู เช่น เคร่ืองพมิ พ์, จอภาพ, พลอตเตอร์ ฯลฯ 5.เทคโนโลยที ใี่ ช้ในการจดั ทาสาเนาเอกสาร เชน่ เครื่องถ่ายเอกสาร, เครอื่ งถ่ายไมโครฟิล์ม 6.เทคโนโลยีสาหรับถา่ ยทอดหรอื สื่อสารข้อมลู ได้แก่ ระบบโทรคมนาคมต่าง ๆ เชน่ โทรทศั น์, วทิ ยกุ ระจายเสียง, โทรเลข, เทเลก็ ซ์ และระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรท์ ง้ั ระยะใกลแ้ ละไกล 17.ผลของเทคโนโลยสี ารสนเทศ การกาเนิดของคอมพิวเตอร์เม่ือประมาณห้าสิบกว่าปีที่แล้ว เป็นก้าวสาคัญท่ีนาไปสู่ยุคสารสนเทศ ในชว่ งแรกมกี ารนาเอาคอมพวิ เตอร์มาใช้เปน็ เครอ่ื งคานวณ แต่ตอ่ มาได้มคี วามพยายามพัฒนาให้

47

คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์สาคัญสาหรับการจัดการข้อมูล เม่ือเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากขึ้น ทาให้สามารถสร้างคอมพิวเตอร์ท่ีมีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพสูงข้ึน สภาพการใช้งานจึงใช้งานกันอย่าง แพร่หลาย ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อชีวิตความเป็นอยู่และสังคมจึงมีมาก มีการเรียนรู้และใช้ สารสนเทศกันอย่างกว้างขวาง ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศโดยรวมกลา่ วไดด้ ังน้ี  การสรา้ งเสรมิ คณุ ภาพชวี ติ ท่ดี ีข้นึ สภาพความเปน็ อยูข่ องสงั คมเมอื ง มีการพัฒนาใช้ระบบส่ือสาร  โทรคมนาคม เพอื่ ติดต่อส่ือสารให้สะดวกขึ้น มกี ารประยกุ ต์มาใชก้ บั เคร่ืองอานวยความสะดวกภายใน บา้ น เชน่ ใช้ควบคุมเครอ่ื งปรับอากาศ ใช้ควบคุมระบบไฟฟ้าภายในบ้าน เปน็ ต้น  เสรมิ สร้างความเท่าเทียมในสังคมและการกระจายโอกาส เทคโนโลยสี ารสนเทศทาให้เกิดการกระจาย ไปทัว่ ทุกหนแห่ง แมแ้ ต่ถ่ินทรุ กนั ดาร ทาให้มีการกระจายโอการการเรยี นรู้ มีการใช้ระบบการเรยี นการสอน ทางไกล การกระจายการเรียนรู้ไปยังถิ่นห่างไกล นอกจากน้ีในปัจจุบันมีความพยายามที่ใช้ระบบการ รกั ษาพยาบาลผ่านเครอื ขา่ ยส่อื สาร  สารสนเทศกับการเรียนการสอนในโรงเรียน การเรียนการสอนในโรงเรียนมีการนาคอมพิวเตอร์และ เคร่ืองมือประกอบช่วยในการเรียนรู้ เช่น วีดิทัศน์ เคร่ืองฉายภาพ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วย จดั การศึกษา จดั ตารางสอน คานวณระดบั คะแนน จัดชั้นเรียน ทารายงานเพื่อใหผ้ ู้บริหารได้ทราบถึงปัญหา และการแก้ปัญหาในโรงเรียน ปจั จบุ นั มีการเรยี นการสอนทางด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศในโรงเรียนมากขนึ้  เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่างจาเป็นต้องใช้ สารสนเทศ เช่น การดูแลรักษาป่า จาเป็นต้องใช้ข้อมลู มีการใช้ภาพถ่ายดาวเทียม การติดตามข้อมูลสภาพ อากาศ การพยากรณ์อากาศ การจาลองรูปแบบสภาวะสิ่งแวดล้อมเพ่ือปรับปรุงแก้ไข การเก็บรวมรวม ข้อมูลคุณภาพน้าในแม่น้าต่าง ๆ การตรวจวัดมลภาวะ ตลอดจนการใช้ระบบการตรวจวัดระยะไกลมาช่วย ที่เรยี กว่าโทรมาตร เป็นต้น  เทคโนโลยีสารสนเทศกับการป้องกันประเทศ กิจการทางด้านการทหารมีการใช้เทคโนโลยี อาวุธ ยุทโธปกรณ์สมัยใหมล่ ้วนแตเ่ กี่ยวข้องกับคอมพิวเตอรแ์ ละระบบควบคมุ มีการใชร้ ะบบป้องกันภยั ระบบเฝ้า ระวังทม่ี ีคอมพวิ เตอรค์ วบคมุ การทางาน  การผลิตในอุตสาหกรรม และการพาณิชยกรรม การแข่งขันทางด้านการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม จาเป็นต้องหาวิธีการในการผลิตให้ได้มาก ราคาถูกลงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทมาก มีการใช้ ขอ้ มูลข่าวสารเพอ่ื การบริหารและการจดั การ การดาเนินการและยงั รวมไปถึงการให้บริการกับลูกค้า เพ่ือให้ ซ้ือสินคา้ ไดส้ ะดวกข้ึน 18.หลกั เกณฑก์ ารประเมนิ ผลลพั ธ์ หรอื ผลผลติ

ขอ้ มลู ของบางคนอาจเปน็ สารสนเทศสาหรบั อีกคนหนงึ่ (Nickerson 1998 : 11) การที่จะบ่งบอกว่า ผลผลติ หรือ ผลลัพธม์ ีคุณค่า หรือสถานภาพเปน็ สารสนเทศ หรอื ไม่นัน้ เราใช้หลักเกณฑต์ อ่ ไปนี้ ประกอบการพิจารณา

1. ความถกู ต้อง (Accuracy) ของผลผลิต หรอื ผลลัพธ์

48

2. ตรงกบั ความต้องการ (Relevance/pertinent) 3. ทันกบั ความต้องการ (Timeliness) การพิจารณาความถูกตอ้ งดูท่ีเน้ือหา (Content) ของผลผลติ โดยพจิ ารณาจากข้ันตอนของการ

ประมวลผล (Process; verifying, calculating) ขอ้ มูล สาหรบั การตรงกบั ความต้องการ หรอื ทันกับความ ต้องการ มผี ใู้ ช้ผลผลติ เปน็ เกณฑ์ในการพจิ ารณา หากผ้ใู ชเ้ ห็นวา่ ผลผลติ ตรงกับความตอ้ งการ หรือผลผลิต สามารถตอบปญั หา หรือแก้ไขปญั หา ของผูใ้ ชไ้ ด้ และสามารถเรยี กมาใชไ้ ดใ้ นเวลาที่เขาตอ้ งการ (ทันต่อ ความตอ้ งการใช)้ เราจึงจะสรุปไดว้ า่ ผลผลิต หรือ ผลลัพธน์ น้ั มสี ถานภาพ เป็นสารสนเทศ คุณภาพ หรือคุณคา่ ของสารสนเทศ ขนึ้ อย่กู บั ขอ้ มูล (Data) ท่ีนาเขา้ มา (Input) หากข้อมูลท่ีนาเข้ามา ประมวลผล เป็นข้อมูลที่ดี ผลลัพธ์ท่ีได้ก็จะมีคุณภาพดี หรือมคี ุณคา่ ผู้ใช้ หรอื ผบู้ ริโภคสามารถนามาใช้ ประโยชน์ได้ แต่หากข้อมูลท่ี นาเข้ามาประมวลผลไม่ดี ผลผลติ หรอื ผลลัพธก์ จ็ ะมคี ุณภาพไม่ดี หรือไมม่ ี คณุ ค่า สมด่ังกบั วลีท่ีวา่ GIGO (Garbage In Garbage Out) หมายความวา่ ถ้านาขยะเขา้ มา ผลผลติ (สิ่งที่ ได้ออกไป) กค็ ือขยะน่ันเอง 19.เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การใชช้ วี ติ ในสงั คมปัจจบุ นั

ข้อมูลของบางคนอาจเป็นสารสนเทศสาหรับอีกคนหนึง่ (Nickerson 1998 : 11) การท่ีจะบ่งบอกวา่ ผลผลิต หรอื ผลลัพธ์มีคุณคา่ หรอื สถานภาพเป็นสารสนเทศ หรอื ไม่นนั้ เราใชห้ ลักเกณฑต์ ่อไปน้ี ประกอบการพจิ ารณา

1. ความถูกตอ้ ง (Accuracy) ของผลผลิต หรอื ผลลพั ธ์ 2. ตรงกบั ความตอ้ งการ (Relevance/pertinent) 3. ทันกับความต้องการ (Timeliness) การพจิ ารณาความถูกต้องดูท่ีเนื้อหา (Content) ของผลผลติ โดยพิจารณาจากขนั้ ตอนของการ ประมวลผล (Process; verifying, calculating) ขอ้ มูล สาหรับการตรงกับความต้องการ หรอื ทันกบั ความ ต้องการ มผี ู้ใช้ผลผลติ เป็น เกณฑ์ในการพจิ ารณา หากผู้ใช้เห็นวา่ ผลผลติ ตรงกบั ความต้องการ หรือผลผลติ สามารถตอบปญั หา หรือแกไ้ ขปญั หา ของผู้ใชไ้ ด้ และสามารถเรยี กมาใช้ไดใ้ นเวลาทเี่ ขาตอ้ งการ (ทนั ต่อ ความต้องการใช)้ เราจึงจะสรุปได้ว่า ผลผลติ หรือ ผลลพั ธน์ ัน้ มีสถานภาพ เปน็ สารสนเทศ คุณภาพ หรือคณุ คา่ ของสารสนเทศ ข้ึนอยกู่ บั ขอ้ มลู (Data) ท่นี าเขา้ มา (Input) หากข้อมูลท่นี าเข้ามา ประมวลผล เปน็ ข้อมลู ที่ดี ผลลพั ธท์ ไี่ ด้ก็จะมีคณุ ภาพดี หรือมคี ณุ คา่ ผู้ใช้ หรอื ผบู้ รโิ ภคสามารถนามาใช้ ประโยชนไ์ ด้ แตห่ ากขอ้ มูลที่ นาเข้ามาประมวลผลไมด่ ี ผลผลติ หรือผลลัพธก์ ็จะมีคุณภาพไม่ดี หรอื ไมม่ ี คุณคา่ สมดั่งกบั วลที ่ีว่า GIGO (Garbage In Garbage Out) หมายความวา่ ถา้ นาขยะเขา้ มา ผลผลิต (สง่ิ ท่ี ได้ออกไป) ก็คือขยะนั่นเอง นัน่ จึงเปน็ เหตุผลท่ีวา่ สงั คมต่าง ๆ ในโลก ต่างจะต้องก้าวสสู่ ังคมสารสนเทศอย่างหลีกเลยี่ งไม่ได้ ไมเ่ ร็วกช็ า้ และน่ันหมายความว่าสงั คมจะตอ้ งพึ่งพาเทคโนโลยสี ารสนเทศ อย่างแน่นอน ไม่ว่าเราจะยอมรับหรอื ไม่ก็ ตาม มิใช่เพยี งแต่เพื่อสร้างขีดความสามารถในเชงิ แขง่ ขนั ในสนามการคา้ ระหวา่ งประเทศ แต่เพื่อความอยู่

49

รอดของมนุษยชาติ และเพ่อื คุณภาพชวี ิตท่ดี ีขน้ึ อีกต่างหากด้วย เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยคี โู่ ลกในต้นศตวรรษที่ 21 และเปน็ แรงกระต้นุ และเปน็ ปัจจัยรองรบั ขบวนการโลกาภวิ ตั น์ ทีก่ าลังผนวกสงั คมเศรษฐกจิ ไทยเขา้ เปน็ อนั หนึง่ เดียวกันกับสงั คมโลก อันท่ีจรงิ เทคโนโลยสี ารสนเทศมีใชใ้ นประเทศไทยเป็นเวลาชา้ นานมาแล้ว เป็นต้นว่า เรามีการใชโ้ ทรศัพท์ ตง้ั แตร่ ัชสมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว เม่ือปี พ.ศ. 2414 เพียงแต่ว่าการใชเ้ ทคโนโลยีนี้ ยังไม่แพร่กระจายท่วั ประเทศและยงั ไม่อยู่ในระดับสงู เม่อื เทียบกบั อีกหลาย ๆ ประเทศในโลก กลา่ วกันอยา่ งส้ัน ๆ เทคโนโลยสี ารสนเทศ คอื เทคโนโลยีท่ีเกี่ยวขอ้ งกับการจดั หา วเิ คราะห์ ประมวล จัดการและจดั เก็บ เรยี กใช้หรือแลกเปล่ียน และเผยแพรส่ ารสนเทศ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ไมว่ า่ จะอยู่ ในรูปแบบของรปู เสยี ง ตวั อกั ษร หรอื ภาพเคล่ือนไหว รวมไปถึงการนาสารสนเทศและข้อมูลไปปฏบิ ตั ิ ตามเนื้อหาของสารสนเทศนน้ั เพอ่ื ให้บรรลเุ ปา้ หมายของผใู้ ช้ การจดั หา วเิ คราะห์ ประมวล และจดั การ กับขา่ วสารข้อมูลจานวนมหาศาล จึงขาดเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ เสยี มไิ ด้ ส่วนการแสวงหาและ แลกเปลย่ี นข้อมูลข่าวสาร อย่างรวดเร็ว ทนั เวลา ประหยัดค่าใชจ้ า่ ย และมีประสิทธิภาพ กจ็ าเป็นตอ้ ง อาศัยเทคโนโลยีโทรคมนาคม และทา้ ยสดุ สารสนเทศที่มี จะก่อให้เกิดประโยชนจ์ ากการบรโิ ภค อยา่ ง กว้างขวางตามแตจ่ ะต้องการและอย่างประหยดั ที่สดุ ก็ต้องอาศยั ทั้งสองเทคโนโลยขี ้างต้นในการจัดการ และการสื่อหรอื ขนย้ายจากแหล่งข้อมลู สารสนเทศ สูผ่ ู้บริโภคในทส่ี ุด ฉะน้นั เทคโนโลยสี ารสนเทศจงึ ครอบคลมุ ถึงหลาย ๆ เทคโนโลยหี ลัก อนั ไดแ้ ก่ คอมพิวเตอรท์ ั้งฮารด์ แวร์ ซอฟต์แวร์ และฐานข้อมูล โทรคมนาคมซ่ึงรวมถึง เทคโนโลยรี ะบบส่ือสารมวลชน (ได้แก่ วทิ ยุ และ โทรทัศน)์ ท้ังระบบแบบมีสายและไร้สาย รวมถึงเทคโนโลยดี า้ นอิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ อาทิ เทคโนโลยี โทรทัศนค์ วามคมชดั สงู (HDTV) ดาวเทยี มคมนาคม (communications satellite) เสน้ ใยแก้วนาแสง (fibre optics) สารกึ่งตัวนา (semiconductor) ปญั ญาประดษิ ฐ์ (artificial intelligence) อปุ กรณ์ อัตโนมตั ิสานกั งาน (office automation) อปุ กรณ์อัตโนมัติในบา้ น (home automation) อปุ กรณ์ อัตโนมตั ิในโรงงาน (factory automation) เหล่านี้ เปน็ ตน้ นอกจากการเปน็ เทคโนโลยที ไ่ี ม่ทาลายธรรมชาติหรือสร้างมลภาวะ (ในตวั ของมนั เอง) ต่อสงิ่ แวดลอ้ มแลว้ คณุ สมบตั โิ ดดเด่นอน่ื ๆ ท่ีทาให้มนั กลายเป็นเทคโนโลยี ยุทธศาสตรส์ าคัญแหง่ ยคุ ปัจจบุ ันและในอนาคตก็ คอื ความสามารถในการเพม่ิ ประสิทธิภาพและสมรรถภาพในเกอื บทุก ๆ กจิ กรรม อาทิโดย

1. การลดต้นทุนหรือค่าใชจ้ า่ ย 2. การเพ่มิ คุณภาพของงาน 3. การสร้างกระบวนการหรอื กรรมวธิ ใี หม่ ๆ 4. การสร้างผลิตภณั ฑแ์ ละบริการใหม่ ๆ ข้นึ ฉะนั้น โอกาสและขอบเขตการนา เทคโนโลยีน้มี าใช้ จงึ มหี ลากหลายในเกือบทุก ๆ กจิ กรรมก็วา่ ได้ ไม่ว่า จะเปน็ การปกครอง การให้บรกิ ารสังคม การผลิตทง้ั ภาคเกษตร อตุ สาหกรรม และบริการ รวมถงึ การค้า ท้งั ภายในและระหวา่ งประเทศอีกด้วย โดยพอสรุปได้ดังต่อไปน้ี

50

ภาคสังคม การบริหารและปกครอง การใหบ้ รกิ ารพน้ื ฐานของรฐั การบรกิ ารสาธารณสุข การบรกิ าร การศกึ ษา การใหบ้ ริการข้อมูลและสาระบนั เทิง การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ การบรรเทาสาธารณภยั การพยากรณ์อากาศและอตุ ุนยิ ม ฯลฯ

ภาคเศรษฐกจิ การเกษตร การปา่ ไม้ การประมง การสารวจและขดุ เจาะนา้ มนั และ กา๊ ซธรรมชาติ การสารวจแรแ่ ละทรัพยากรธรรมชาตทิ ง้ั บนและใต้ผวิ โลก การก่อสร้าง การคมนาคมท้ังทางบก น้า และ อากาศ การค้าภายในและระหว่างประเทศ อตุ สาหกรรมการผลิต อตุ สาหกรรมบรกิ าร อาทิ ธุรกิจการ ท่องเทย่ี ว การเงิน การธนาคาร การขนส่ง และ การประกนั ภยั ฯลฯ ผลประโยชนต์ า่ งๆ จากการประยกุ ต์ใชข้ องเทคโนโลยดี ังกล่าว ลว้ นเกดิ จากคณุ สมบตั ิพิเศษหลาย ๆ ประการของเทคโนโลยกี ลมุ่ น้ี อันสืบเนอ่ื งจากการพัฒนาของ เทคโนโลยีท่ีมีอัตราสูงและอยา่ งต่อเนื่องตลอด หลายทศวรรษที่ผา่ นมา ววิ ฒั นาการทางเทคโนโลยีนสี้ ง่ ผลให้  ราคาของฮารด์ แวร์และอปุ กรณ์ รวมท้งั ค่าบริการ สาหรบั การเกบ็ การประมวล และการแลกเปลีย่ น เผยแพรส่ ารสนเทศมกี ารลดลงอยา่ งต่อเนื่องและรวดเรว็  ทาใหส้ ามารถนาพาอปุ กรณต์ ่าง ๆ ทั้งคอมพิวเตอรแ์ ละ โทรคมนาคมติดตามตวั ได้ เนอื่ งจากได้มี พัฒนาการการย่อสว่ นของชนิ้ ส่วน (miniaturization) และพัฒนาการการส่อื สารระบบไร้สาย  ประการท้าย ทจ่ี ัดว่าสาคัญท่ีสุดกว็ า่ ไดค้ ือ ทาใหเ้ ทคโนโลยีต่าง ๆ เชน่ เทคโนโลยคี อมพิวเตอรแ์ ละการ

สอื่ สารมุ่งเขา้ สู่จดุ ทใี่ กลเ้ คียงกัน (converge)ประเทศอุตสาหกรรมในโลกได้เล็งเห็นถึงศักยภาพของ เทคโนโลยยี ทุ ธศาสตรก์ ลุ่มนี้ จึงใหค้ วามสาคญั ตอ่ เทคโนโลยนี ม้ี ากกว่าเทคโนโลยีอ่ืน ๆ ทจ่ี ัดเป็น เทคโนโลยยี ุทธศาสตรส์ าคญั อีกหลายกลมุ่ ดงั เช่นกล่มุ ประเทศ OECD (Organization for Economic Co-operation and Development) ไดศ้ ึกษาเปรียบเทียบ ศกั ยภาพของเทคโนโลยี ไฮเทค 5 กลุม่ สาคญั ในปจั จุบัน คือ เทคโนโลยีชวี ภาพ เทคโนโลยวี สั ดใุ หม่ เทคโนโลยอี วกาศ เทคโนโลยีนิวเคลียร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ ในประเดน็ ผลกระทบสาคัญ 5 ประเด็น ได้แก่ (1) การสร้างผลติ ภัณฑแ์ ละบรกิ ารใหม่ ๆ (2) การปรับปรงุ กระบวนการผลิตผลิตภณั ฑ์และบริการ (3) การยอมรับจากสังคม (4) การนาไปใชป้ ระยุกต์ในภาค/สาขาอื่น ๆ (5) การสร้างงานในทศวรรษปี 1990 ปรากฏวา่ เทคโนโลยสี ารสนเทศไดร้ ับการยอมรับในศักยภาพ สงู สุดในทุก ๆ ประเดน็ 20.ประโยชนข์ องระบบสารสนเทศ ประโยชนข์ องระบบสารสนเทศ ประสทิ ธภิ าพ (Efficiency)

 ระบบสารสนเทศทาให้การปฏิบัติงานมีความรวดเร็วมากข้ึน โดยใช้กระบวนการประมวลผลข้อมูลซึ่ง จะทาให้สามารถเกบ็ รวบรวม ประมวลผลและปรับปรุงขอ้ มลู ให้ทันสมัยได้อย่างรวดเรว็ ระบบสารสนเทศ

51

ชว่ ยในการจัดเก็บข้อมูลทีม่ ีขนาดใหญ่ หรือมีปริมาณมากและช่วยทาให้การเข้าถึงขอ้ มูล (access) เหล่านั้น มคี วามรวดเรว็ ด้วย

 ชว่ ยลดตน้ ทุน การท่ีระบบสารสนเทศช่วยทาให้การปฏบิ ัติงานทเี่ ก่ียวขอ้ งกับข้อมูล ซ่ึงมปี ริมาณมากมี ความสลับซับซ้อนให้ดาเนินการได้โดยเร็ว หรือการช่วยให้เกิดการติดต่อสื่อสารได้อย่างรวดเร็ว ทาให้เกิด การประหยดั ตน้ ทนุ การดาเนนิ การอยา่ งมาก  ช่วยให้การติดต่อส่ือสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว การใช้เครือข่ายทางคอมพิวเตอร์ทาให้มีการติดต่อได้ท่ัว โลกภายในเวลาท่ีรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อระหว่างเคร่ืองคอมพิวเตอร์กับเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกัน (machine to machine) หรอื คนกับคน (human to human) หรอื คนกับเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ (human to machine) และการตดิ ต่อสอื่ สารดังกล่าวจะทาใหข้ อ้ มลู ทเ่ี ปน็ ทั้งขอ้ ความ เสียง ภาพนง่ิ และภาพเคลือ่ นไหว สามารถส่งไดท้ นั ที  ระบบสารสนเทศช่วยทาให้การประสานงานระหว่างฝ่ายต่าง ๆ เป็นไปได้ด้วยดีโดยเฉพาะหากระบบ สารสนเทศนั้นออกแบบ เพื่อเอ้ืออานวยให้หน่วยงานท้ังภายในและภายนอกท่ีอยู่ในระบบของซัพพลาย ทง้ั หมด จะทาใหผ้ ู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องทั้งหมดสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ และทาให้การประสานงาน หรือการ ทาความเขา้ ใจเปน็ ไปไดด้ ้วยดยี ง่ิ ข้นึ ประสทิ ธผิ ล (Effectiveness)

 ระบบสารสนเทศช่วยในการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศที่ออกแบบสาหรับผู้บริหาร เช่น ระบบ สารสนเทศที่ช่วยในการสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision support systems) หรือระบบสารสนเทศ สาหรับผู้บริหาร (Executive support systems) จะเอื้ออานวยให้ผู้บริหารมีข้อมูลในการประกอบการ ตัดสนิ ใจได้ดขี ึน้ อันจะสง่ ผลให้การดาเนนิ งานสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ไวไ้ ด้  ระบบสารสนเทศช่วยในการเลือกผลิตสินคา้ /บริการทเี่ หมาะสมระบบสารสนเทศจะชว่ ยทาให้องค์การ ทราบถึงขอ้ มลู ทเ่ี ก่ียวข้องกบั ตน้ ทุน ราคาในตลาดรปู แบบของสนิ คา้ /บริการที่มีอยู่ หรือช่วยทาใหห้ น่วยงาน สามารถเลือกผลิตสินคา้ /บริการท่มี ีความเหมาะสมกบั ความเช่ียวชาญ หรือทรัพยากรท่มี อี ยู่  ระบบสารสนเทศช่วยปรับปรุงคุณภาพของสินค้า/บริการให้ดีข้ึนระบบสารสนเทศทาให้การติดต่อ ระหว่างหน่วยงานและลูกค้า สามารถทาได้โดยถูกต้องและรวดเร็วขึ้น ดังน้ันจึงช่วยให้หน่วยงานสามารถ ปรบั ปรุงคณุ ภาพของสินค้า/บริการให้ตรงกบั ความต้องการของลูกค้าไดด้ ีขึ้นและรวดเรว็ ข้ึนดว้ ย  ความไดเ้ ปรยี บในการแขง่ ขัน (Competitive Advantage)  คณุ ภาพชวี ติ การทางาน (Quality of Working Life)

บทท่ี 3 คอมพวิ เตอรแ์ ละอนิ เตอรเ์ นต็ กบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ

การประยกุ ต์เทคโนโลยเี ครอื ขา่ ยเพือ่ การจัดการเรียนการสอน ความรูพ้ ้ืนฐานของเทคโนโลยีเครอื ข่าย

ในอดีตคอมพิวเตอร์มีราคาแพงและถูกสร้างข้ึนมาเพื่อการทางานแบบผู้ใช้คนเดียว ส่งผลให้ การทางานเป็นไปอย่างไม่คุ้มค่า อีกทั้งในปัจจุบันได้มีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานต่างๆ เพ่ิมข้ึนมากมาย ทาให้มีการนาเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ มาเชื่อมต่อกัน เป็นระบบ เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์เพือ่ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพ ความสะดวกสบาย เปา้ หมายของเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์

1.เนื่องจากอุปกรณ์ทางคอมพิวเตอร์มีราคาแพง เพื่อให้ใช้ทรัพยากรเหล่าน้ันอย่างคุ้มค่า จึงมี การนาเอาอปุ กรณเ์ หลา่ นั้นมาใชง้ านร่วมกัน เชน่ เคร่ืองพิมพ์ ฮารด์ ดิสก์ และโปรแกรมต่างๆ เปน็ ต้น

2.สามารถใช้ขอ้ มูลรว่ มกนั ได้ อีกทัง้ ยงั สามารถกาหนดระดับการใช้ขอ้ มลู ของผูใ้ ช้แตล่ ะคนได้ 3.ผใู้ ชแ้ ตล่ ะคนสามารถติดต่อกนั ได้สะดวก โดยผา่ นระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ การแบง่ ประเภทเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ แบง่ ประเภทเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรต์ ามขนาด

ระบบเครือข่ายระยะใกล้ (LAN: Local Area Network) เป็นเครือข่ายซ่ึงอุปกรณ์ท้ังหมด เช่ือมโยงกันอยู่ในพื้นท่ีใกล้ๆ กัน เช่น อยู่ภายในแผนกเดียวกันอยู่ภายในสานักงาน หรือภายในตึก เดยี วกนั

ระบบเครือข่ายระยะไกล (WAN: Wide Area Network) เป็นเครือข่ายที่ประกอบด้วยเครือข่าย LAN ตั้งแต่ 2 วงขึ้นไปเชื่อมตอ่ กนั ในระยะทางทไี่ กลมาก เชน่ ระหวา่ งเมือง หรือระหวา่ งประเทศ

53

ระบบเครือข่ายบริเวณเมืองใหญ่ (MAN: Metropolitan Area Network) เป็นระบบท่ีเช่ือมโยง คอมพิวเตอร์ซึ่งอาจตั้งอยู่ห่างไกลกันในช่วง 5 ถึง 50 กิโลเมตร ผู้ใช้ระบบน้ีมักจะเป็นบริษัทขนาด ใหญ่ แตก่ ารใช้ขอ้ มูลจากัดอยภู่ ายในบริเวณเมือง

ประโยชนข์ องระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ มดี งั น้ี การใช้อปุ กรณร์ ว่ มกนั (Sharing of peripheral devices) เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรท์ าให้ผู้ใช้ สามารถ ใช้อุปกรณ์ รอบขา้ งท่ตี ่อพ่วงกับระบบคอมพวิ เตอร์ รว่ มกันไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เช่นเคร่อื งพิมพ์

54

ดิสกไ์ ดร์ฟ ซีดรี อม สแกนเนอร์ โมเด็ม เป็นต้น ทาใหป้ ระหยัดคา่ ใช้จ่าย ไมต่ ้องซ้ืออุปกรณท์ ่ีมรี าคา แพง เช่ือมตอ่ พ่วงให้กับคอมพิวเตอร์ทุกเคร่อื ง

การใชอ้ ปุ กรณร์ ่วมกันของระบบเครอื ขา่ ย การใช้โปรแกรมและข้อมลู รว่ มกนั (Sharing of program and data) เครือข่ายคอมพวิ เตอร์

ทาให้ผู้ใช้สามารถใช้โปรแกรม และข้อมูลร่วมกันได้ โดยจัดเก็บโปรแกรมไว้แหล่งเก็บข้อมูล ท่ีเป็น ศูนย์กลาง เช่น ที่ฮาร์ดดิสก์ของเคร่ือง File Server ผู้ใช้สามารถใช้โปรแกรมร่วมกัน ได้จากแหล่ง เดียวกนั ไม่ตอ้ งเก็บโปรแกรมไวใ้ นแตล่ ะเครือ่ ง ใหซ้ ้าซ้อนกัน นอกจากนั้นยังสามารถรวบรวม ข้อมูล ต่าง ๆ จัดเก็บเป็นฐานข้อมูล ผู้ใช้สามารถใช้สารสนเทศ จากฐานข้อมูลกลาง ผ่านระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานได้อย่างสะดวกสบาย โดยไม่ต้องเดินทางไปสาเนาข้อมูลด้วยตนเอง เพราะใช้ การเรียกใช้ข้อมูล ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์น่ันเอง เครื่องลูก (Client) สามารถเข้ามาใช้ โปรแกรม ข้อมูล ร่วมกันได้จากเคร่ืองแม่ (Server)หรือระหว่างเครื่องลูกกับเครื่องลูกก็ได้ เป็นการ ประหยัดเนื้อท่ีในการจัดเก็บโปรแกรม ไม่จาเป็นว่าทุกเครื่องต้องมีโปรแกรมเดียวกันน้ีในเคร่ืองของ ตนเอง การใชโ้ ปรแกรมและขอ้ มูลร่วมกันได้

สามารถติดต่อสื่อสารระยะไกลได้ (Telecommunication) การเชือ่ มต่อคอมพิวเตอร์ เป็น เครือข่าย ท้ังประเภทเครือข่าย LAN , MAN และ WAN ทาให้คอมพิวเตอร์ สามารถส่ือสาร แลกเปลี่ยนข้อมูล ระยะไกลได้โดยใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ทางด้านการติดต่อส่ือสาร โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ง ในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต มีการให้บริการต่าง ๆ มากมาย เช่น การโอนย้ายไฟล์ข้อมูล การ ใชจ้ ดหมายอิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Mail)การสืบค้นข้อมลู (Serach Engine) เปน็ ตน้ การใช้โปรแกรมติดตอ่ สอื่ สารระยะไกล

สามารถประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจได้ (Business Applicability) องค์กรธุรกิจ มีการ เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อประโยชน์ทางธุรกิจ เช่น เครือข่ายของธุรกิจธนาคาร ธุรกิจการ บิน ธุรกิจประกันภัย ธุรกิจการท่องเท่ียว ธุรกิจหลักทรัพย์ สามารถดาเนินธุรกิจ ได้อย่างรวดเร็ว ตอบสนองความพึงพอใจ ให้แก่ลูกค้าในปัจจุบัน เริ่มมีการใช้ประโยชน์จากเครือข่าย Internet เพ่ือ ทาธุรกิจกันแล้ว เชน่ การสง่ั ซือ้ สินค้า การจา่ ยเงินผา่ นระบบธนาคาร เปน็ ต้น การประยกุ ตใ์ ชง้ านเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์

1. Electronic mail: จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการส่งข่าวสารโดยระบุตัวผู้รับเช่นเดียวกับ จดหมาย ผู้รับจะได้รับอย่างรวดเร็วเนื่องจากเป็นการส่งผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีเชื่อมโยงกัน อยู่

55

2.Electronic Bulletin Boards: บริการกระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการแลกเปล่ียนข่าวสาร ร ว ม ทั้ ง แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ผ่ า น ก ร ะ ด า น ข่ า ว ข อ ง ก ลุ่ ม แ บ บ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์

3.Electronic Teleconference, Videoconferencing: การประชมุ ทางไกลผา่ นระบบเครอื ข่าย คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยประหยดั ค่าใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทาง ประหยัดเวลาของผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ และนามา ประยกุ ต์ใชใ้ นเรื่องอ่นื ๆ เช่นใชใ้ นการเรยี นการสอน ใชใ้ นตรวจรกั ษาโรคผ่านการประชุมทางไกล เป็นต้น

56

4. Electronic Data Interchange – EDI: การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนกิ ส์

5. Electronic Funds Transfer – EFT: การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์

6. E-commerce, E-Banking, E-learning, E-government : การดาเนนิ กจิ กรรมทาง “ธุรกจิ ”ตา่ งๆ ผ่านระบบอนิ เทอรเ์ น็ต , การเรียนการสอนผา่ นระบบ อินเทอรเ์ น็ต ,วธิ กี ารบรหิ ารจดั การภาครฐั สมยั ใหมท่ เี่ น้นการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเครอื ข่ายเพือ่ เพ่ิมประสิทธภิ าพของผลงานของ ภาครฐั

57 7.Telnet (Remote Login) : การควบคมุ ระยะไกล เปน็ บริการเขา้ ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ระยะไกลผู้ใช้งานสามารถเขา้ ไปใชเ้ ครอ่ื งคอมพวิ เตอรไ์ มว่ ่า คอมพิวเตอรเ์ คร่ืองนั้น จะตง้ั อย่ใู กล้หรือไกล ผ่านทางเครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ โดยตรง ซึ่งการที่เราจะ เข้าไปควบคุมไดน้ ้นั เราจะต้องไดร้ บั อนุญาต จากผู้ควบคุมเครื่องนนั้ ๆ โดยผู้ใชจ้ ะต้องมีชื่อบญั ชแี ละ รหัสผา่ นที่กาหนดไว้ใหส้ าหรับเขา้ ไปใช้งาน

8.Ftp (File Transfer Protocol) : คือ บริการท่ีใช้ในการโอนย้าย file หรือข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ หน่ึงไปยังอีกคอมพิวเตอร์หนึ่ง สามารถโอนย้ายข้อมูล เช่น รูปภาพ , ข้อความ , บทความ , คู่มือ และโปรแกรมตา่ ง ๆ

9.World Wide Web : คอมพิวเตอร์ส่วนหน่ึงบนอินเตอร์เน็ต ที่ถูกเชื่อมต่อกันในแบบพิเศษที่ทาให้ คอมพิวเตอร์เหล่าน้นั สามารถเข้าถงึ ขอ้ มูลเน้อื หาทีเ่ ก็บไวภ้ ายในของแตล่ ะเครื่องได้

58

การประยกุ ตเ์ ทคโนโลยเี ครือขา่ ยด้านการเรยี นการสอน การเรียนการสอนโดยใช้เว็บเป็นหลัก เป็นการจัดการเรียน ที่มีสภาพการเรียนต่างไปจากรูป

แบบเดิม การเรียนการสอนแบบน้ี อาศัยศักยภาพและความสามารถของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่ง เป็นการนาเอาส่ือการเรียนการสอน ท่ีเป็นเทคโนโลยี มาช่วยสนับสนุนการเรียนการสอน ให้เกดิ การ เรียนรู้ การสืบค้นข้อมูล และเชอ่ื มโยงเครือข่าย ทาให้ผเู้ รียนสามารถเรียนได้ทุกสถานทแ่ี ละทกุ เวลา การจัดการเรียนการสอนลักษณะนี้ มีช่ือเรียกหลายช่ือ ได้แก่ การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web- based Instruction) การฝึกอบรมผ่านเว็บ (Web-based Trainning) การเรียนการสอนผ่านเวิล์ด ไวดเ์ วบ็ (www-based Instruction) การสอนผ่านสือ่ ทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-learning) เปน็ ต้น

ระบบวดิ โี อออนดมี านด์ (Video on Demand) เปน็ ระบบใหมท่ ก่ี าลงั ได้รบั ความนิยมนามาใช้ ในหลายประเทศเช่น ญ่ีปนุ่ และสหรฐั อเมรกิ า โดยอาศยั เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรค์ วามเรว็ สงู ทาใหผ้ ้ชู ม ตามบ้านเรือนต่าง ๆ สามารถเลือกรายการวิดีทัศน์ ท่ีตนเองต้องการชมได้โดยเลือกตามรายการ (Menu) และเลอื กชมได้ตลอดเวลา วิดีโอออนดมี านด์ เป็นระบบที่มีศนู ย์กลาง การเก็บข้อมูลวีดทิ ศั น์ ไว้จานวนมาก โดยจัดเก็บในรูปแหล่งข้อมูลขนาดใหญ่ (Video Server) เม่ือผู้ใช้ต้องการเลือกชม รายการใดก็เลอื กได้จากฐานขอ้ มูลท่ีต้องการระบบวิดโี อออนดีมานด์จงึ เปน็ ระบบทจ่ี ะนามาใช้ในเรื่อง การเรียนการสอนทางไกลได้ โดยไม่มีข้อจากัดด้านเวลา ผู้เรียนสามารถเลือกเรียน ในส่ิงที่ตนเอง ต้องการเรยี นหรือสนใจได้ การสบื ค้นข้อมลู (Search Engine) ปจั จุบันไดม้ ีการกล่าวถึงระบบการสืบค้นขอ้ มลู กันมาก แมแ้ ต่ใน เครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต ก็มีการประยกุ ต์ใช้ไฮเปอร์เทก็ ซ์ในการสืบค้นข้อมูล จนมีโปรโตคอลชนิดพิเศษ ท่ีใช้กัน คือ World Wide Web หรือเรียกว่า www. โดยผู้ใช้สามารถเรียกใช้โปรโตคอล http เพ่ือ เช่ือมโยงเข้าสู่ระบบไฮเปอร์เท็กซ์ ซ่ึงเป็นฐานข้อมูลในอินเทอร์เน็ต ไฮเปอร์เท็กซ์มีลักษณะเป็นแบบ มัลตมิ ีเดยี เพราะสามารถสรา้ งเปน็ ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ที่เก็บได้ทงั้ ภาพ เสยี ง และตัวอกั ษร มีระบบ การเรียกค้นท่ีมีประสิทธิภาพ ส่วนโปรแกรมที่มีช่ือเสียงได้แก่ HTML Compossor FrontPage Marcromedia DreaWeaver เป็นต้น ปัจจุบันเราใช้วิธีการสืบค้นข้อมูล เพ่ือนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ ประกอบในการทาเอกสารรายงานต่าง ๆ ไดอ้ ย่างสะดวกและรวดเร็ว

การสรา้ งและพฒั นานวตั กรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การศกึ ษา

59

1.ความหมาย “นวตั กรรม” ผศ.วีระ ประเสริฐศิลป์ และคณะ ( 2546) ได้ให้ความหมายของ “นวัตกรรม”

(Innovation) หมายถึงวิธีการใหม่ ๆ ท่ีนามาใช้ ซ่ึงไม่เคยใช้ในหน่วยงานน้ันมาก่อน อาจเป็นวิธีการ ใหม่ท่ใี ช้เป้นครง้ั แรก หรืออาจเปน็ วิธใี หม่ที่เคยใชใ้ นหนว่ ยงานอน่ื แล้วก็ได้ สวัสด์ิ ปุษบาคม (2517) ได้ให้ความหมายของ “นวัตกรรม” (Innovation) หมายถึงการปฏิบัติหรือ กรรมวิธีการใหม่มาใช้ หรือการทาการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงวิธีทาสิ่งต่างๆ ให้ดีกว่าเดิม คือทาให้มี ประสิทธิภาพสูงข้ึน ตัวอย่างเช่น ในการให้การศึกษาก็ใช้เครื่องมือช่วยสอน ที่เรียกว่า Teaching machine หรือใช้คอมพวิ เตอร์ช่วยสอนทีเ่ รยี กว่า Computer Assisted Instruction เป็นต้น

Thoeas Hughes ได้ให้ความหมายของ “นวตั กรรม” (Innovation) เป็นการใชว้ ิธกี าร เป็น 3 ระยะ คือระยะแรกมีการประดิษฐ์คิดค้น การประดิษฐ์คิดค้นท่ีจะยังไม่แพร่หลายเป็นท่ีปฏิบัติท่ัวไป จะต้องถึงระยะท่ี 2 คือพัฒนาการ ของการคิดหรือสิ่งประดิษฐ์ เช่น ทาการทดลองในแหล่งทดลอง จัดทา เช่น Silot Project เป็นการพัฒนาได้ผลก็จะนาไปปฏิบัตใิ นสถานการณ์ท่ัวไป เป็นแนวทางการ ปฏิบัติใหมจ่ ากทเี่ คยปฏบิ ัตมิ า ซงึ่ เรียกว่า เป็นนวตั กรรมท่สี มบูรณ์

“เทคโนโลยสี ารสนเทศ” ผศ.วีระประเสริฐศิลป์ และคณะ(2546)ได้ให้ความหมายของ“เทคโนโลยีสารสนเทศ”

(Information Technology )หรือที่เรียกกันย่อๆว่า IT หมายถึงเทคโนโลยีที่นามาใช้ในการจัดเก็บ ขอ้ มลู และการประมวลผลขอ้ มลู ให้เกิดผลลัพธเ์ ปน็ สารสนเทศ เพอื่ นาไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ เทคโนโลยสี ารสนเทศ หรือ ไอที(information technology: IT) คือการประยกุ ต์ใช้คอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์โทรคมนาคม เพ่ือจัดเก็บ ค้นหา ส่งผ่าน และจัดดาเนินการข้อมูล ซ่ึงมักเกี่ยวข้องกับธุรกิจ หนึ่งหรือองค์การอ่ืน ๆ ศัพท์น้ีโดยปกติก็ใช้แทนความหมายของเครื่องคอมพิวเตอร์และเครือข่าย คอมพิวเตอร์ และยังรวมไปถึงเทคโนโลยีการกระจายสารสนเทศอย่างอ่ืนด้วย เช่นโทรทัศน์และ โ ท ร ศั พ ท์ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ห ล า ย อ ย่ า ง เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ ตัวอย่างเช่น ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ก่ึงตัวนา อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์ โทรคมนาคม การพาณชิ ย์อิเลก็ ทรอนิกส์ และบรกิ ารทางคอมพวิ เตอร์

2.บทบาทและความสาคญั ของนวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ในวงการบริหารงานต่างๆโดยเฉพาะในวงการบริหารธุรกิจซึ่งมีการแข่งขันกันสูงได้นาเอา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใชใ้ นการบริหารเปน็ อนั มาก เพ่อื ให้การบริหารมปี ระสิทธิภาพ

60

สูง และได้ประสิทธผิ ลสงู สุด ผู้บริหารยุคใหม่ทุกระดบั จึงนานวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ กันอย่างแพร่หลาย เช่น ผู้บริหารระดับสูงในองค์กร จะนาสารสนเทศที่แสดงภาพรวมของการ ดาเนินงาน ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรกับส่ิงแวดล้อมสรุปปัญหาและแนวทางแก้ไขมาใช้เพ่ือ ประกอบในการแก้ปัญหาและการตัดสินใจกาหนด กลยุทธ์ขององค์กร ส่วนผู้บริหารระดับกลางจะนา สารสนเทศท่ีประมวลผลงานประจาปีมาใช้จัดทาแผนงบประมาณและกาหนดเป็นการดาเนินงานของ หน่วยงานสาหรับผู้บริหารงานระดับต้น จะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยในการควบคุมการปฏิบัติงาน เปน็ ตน้ ปัจจุบันผู้บริหารในวงการศึกษาได้นานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัด การศกึ ษากันมากขนึ้ เช่น

1.การนานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการตัดสินใจทดี่ ีจะต้องรวดเร็วและไม่ผิดพลาดและ การตัดสนิ ใจรวดเร็วและไม่ผดิ พลาดนั้นจาเป็นต้องมีข้อมูลสารสนเทศที่เป็นปัจจุบันไม่ล้าสมัยมีจานวน มากเพียงพอและสามารถนามาใช้ได้ง่ายและรวดเร็ว ซ่ึงเทคโนโลยีสารสนเทศจะช่วยในเรื่องน้ีได้เป็น อย่างดี ระบบสารสนเทศที่มีผู้บรหิ ารนามาใชใ้ นการชว่ ยการตัดสนิ ใจ มีดงั น้ี

1.1 ระบบสารเทศสาหรับผู้บริหาร หรือ เรียกว่าระบบสนับสนุนผู้บริหาร หรือ essเป็น ระบบที่ออกแบบและพัฒนาข้ึนมาเพ่ือจัดเตรียมสารสนเทศท่ีเหมาะสมในการตัดสินใจของผู้บริหาร ระดับสูง ช่วยให้ผู้บริหารสามารถทาความเขา้ ใจปัญหาอยา่ งชัดเจนและสามารถตัดสินใจเลอื กแนวทาง แกป้ ัญหาอย่างมปี ระสิทธภิ าพ

1.2 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจหรือ dssเป็นระบบท่ีออกแบบและพัฒนาขึ้นมาเพ่ือใช่ สนับสนุนการตัดสินใจของผู้บรหิ ารระดับกลาง ระบบ dssจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตัดสนิ ใจของ ผู้บริหาร แต่จะไม่ทาการตัดสินใจแทนผู้บริหารโดยประมวลผลและนาเสนอข้อมูลท่ีสาคัญต่อการ ตัดสินใจจลอดจนประมวลทางเลือกที่เหมาะสมภายใต้ข้อจากัดของแต่ละสถานการณ์เพ่ือให้ผู้บริหาร ใช้สติปญั ญา เหตุผล ประสบการณ์ และความคิดสร้างสรรค์ของตนวิเคราะห์และเปรยี บเทยี บทางเลอื ก ให้สอดคลอ้ งกับปัญหาหรือสถานการณ์น้ันๆ

2.การนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการบริหารทางไกลมีการนาสื่อหลายๆ อย่าง เช่น โทรศัพท์มือถือ โทรสาร วิทยุ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ และเคร่ืองมือสื่อสารโทรคมนาคมมา ใช้ในการติดต่อสื่อสารและการบริหารทางไกลได้สะดวกรวดเร็ว ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายเป็นอัน มาก ถงึ แมจ้ ะอย่ไู กลกนั กส็ ามารถทางานรว่ มกนั ประชุมร่วมกนั ได้ โดยใช้ Telecomferenceเป็นต้น

3.การนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นการบริหารสถานศึกษาปจั จุบัน

61

สถานศึกษาหลายแห่งพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือใช้ในการบริหารงานด้านต่างๆท้ังการบริหารงาน วิชาการ การบริหารกิจการนักเรียนการบริหารงานบุคคลกร การบริหารงานวิชาการ การเงิน พัสดุ ครภุ ณั ฑ์ การบรหิ ารงานอาคารสถานท่ี และการบริหารงานชุมชน

4.การสร้างเครือข่ายข้อมูลด้วยระบบสารสนเทศ เครือข่ายนี้จะช่วยพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไทยเป็นอันมาก ปัจจุบันมีโครงการเครือข่ายคอมพิวเตอร์โรงเรียนมัธยมศึกษา ซ่ึงเป็นโครงการด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ โครงการหนึ่งในหลายโครงการท่ีเกิดขึ้นตามพระราชดาริของสมเด็จพระเทพ รตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี โดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แหง่ ชาติ ได้นา แนวทางพระราชดาริ มาดาเนนิ การร่วมกับหน่วยงานและสถานศึกษา โดยมีวตั ถปุ ระสงคด์ ังนี้  เพื่อให้โรงเรียนทั่วประเทศได้มี และได้ประโยชน์จากเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษา เรยี นรู้  เพื่อโรงเรียนมัธยมศึกษาท้ังในกรุงเทพและต่างจังหวัดเข้าถึงเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และเครือข่าย ขอ้ มูลระหว่างกลุ่มโรงเรยี น  เพ่อื ใหโ้ รงเรียนสามารถแลกเปลีย่ นเอกสาร สื่อการสอน และดชั นหี ้องสมดุ ระหว่างโรงเรียน  เพอ่ื ชว่ ยให้ผ้ใู ช้ในระดบั โรงเรยี นได้เขา้ ถงึ ศนู ย์ขอ้ มลู ตา่ งๆและหอ้ งสมุดในอนิ เตอรเ์ นต็  เพ่ือให้ครู อาจารย์สามารถติดต่อกับครู อาจารย์ในโรงเรียน หรือสถาบันการศึกษาอื่นๆท้ังในและ ตา่ งประเทศ

5.การนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการศึกษา ในปัจจุบันผู้บริหาร หน่วยงานทางการศึกษานานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการศึกษา เป็น ประโยชนต์ อ่ การเรียนรหู้ ลายอย่าง เช่น 5.1 อนิ เตอรเ์ น็ต เพือ่ ใช้คน้ ควา้ หาข้อมูล ขา่ วสารทางวิชาการและอ่ืนๆ จากท่ีต่างๆ เปน็ การสง่ เสริมให้ เกิดการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต  จดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เพอ่ื ใช้รับส่งข่าวสาร ขอ้ มูล รปู ภาพ และส่งงานให้ครูอาจารยต์ รวจ  การจัดทา Website ของสถานศึกษา เพอื่ การเผยแพรข่ ่าวสารของสถานศึกษา  การใชโ้ ปรแกรม SPSS เพอ่ื การวเิ คราะหข์ ้อมูลต่างๆ  การทา Powerpointเพื่อใชเ้ ป็นสื่อการเรียนการสอน  คอมพิวเตอรช์ ่วยสอน หรือ CAI เพอ่ื ช่วยให้ผู้เรยี นเรยี นรู้ดว้ ยตัวเองจากบทเรยี นสาเรจ็ รปู  การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นการเรียนทางไกลที่ผู้เรียนสามารถโต้ตอบกับผู้สอนได้ โดย อาศัยเครอื ข่ายอินเตอร์เน็ต จึงชว่ ยให้เรียนร้ไู ดโ้ ดยไม่มีข้อจากดั ของเวลา และสถานที่  หอ้ งเรยี นอัจฉรยิ ะ เป็นการจัดระบบบรหิ ารจดั การห้องเรียน ที่ใช้การเรยี นการสอนแบบออนไลน์

62

 และปฏิสัมพันธ์สามารถควบคุมและตรวจสอบกิจกรรมของนักเรียนได้โดยตรงจากคอมพิวเตอร์ของ ครู  หนังสืออิเล็กทรอนิกส์และห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือเสริมการเรยี นการสอนและให้บริการค้นคว้า หาความร้แู ก่นกั เรยี น ครู อาจารย์ และประชาชนทั่วไป

5.10การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนและการสอ่ื สาร หรอื ICT เพอ่ื พัฒนาการศกึ ษา 3.ประเภทนวตั กรรมทางการศกึ ษาและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา ประเภทของนวตั กรรมการศึกษา

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้มีบทบัญญัติที่เก่ียวข้องกับเทคโนโลยี การศึกษาและนวัตกรรมการศึกษาไว้หลายมาตรา มาตราที่สาคัญ คือ มาตรา 67 รัฐต้องส่งเสริมให้มี การวจิ ัยและพัฒนาการผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบและ ประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา เพื่อให้เกิดการใช้ท่ีคุ้มค่าและเหมาะสมกับกระบวนการ เรียนรู้ของคนไทยและในมาตรา 22 “การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถ เรียนรแู้ ละพฒั นาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคญั ทสี่ ุด กระบวนการจัดการศกึ ษาตนเองไดแ้ ละ ถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ” การดาเนินการปฏิรูปการศึกษาให้สาเร็จได้ตามท่ีระบุไว้ใน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ดังกล่าว จาเป็นต้องทาการศึกษาวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมการศึกษาใหม่ๆ ที่จะเข้ามาช่วยแก้ไขปัญหาทางการศึกษาท้ังในรูปแบบของการศึกษาวิจัย การทดลองและการประเมินผลนวัตกรรมหรอื เทคโนโลยีทน่ี ามาใชว้ า่ มีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด นวัตกรรมท่ีนามาใช้ทั้งที่ผ่านมาแล้วและท่ีจะมีในอนาคตมีหลายประเภทข้ึนอยู่กับการประยุกต์ใช้ นวัตกรรมในดา้ นต่างๆ ในที่นีจ้ ะขอกล่าวคอื นวัตกรรม 5 ประเภท คือ

3.1 นวัตกรรมทางด้านหลกั สูตร นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เป็นการใช้วิธีการใหม่ๆ ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมในท้องถ่นิ และตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากขึ้น เน่ืองจากหลักสูตรจะต้อง มีการเปล่ียนแปลงอยู่เสมอเพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโน โลยีเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศและของโลก นอกจากน้ีการพัฒนาหลักสูตรยังมีความจาเป็นท่ีจะต้องอยู่บนฐานของ แนวคิดทฤษฎีและปรัชญาทางการจัดการสัมมนาอีกด้วย การพัฒนาหลักสูตรตามหลักการและวิธีการ ดังกล่าวต้องอาศัยแนวคิดและวธิ ีการใหม่ๆ ทีเ่ ปน็ นวัตกรรมการศึกษาเข้ามาชว่ ยเหลือจัดการให้เป็นไป ในทศิ ทางทต่ี อ้ งการ นวตั กรรมทางด้านหลักสตู รในประเทศไทย ได้แก่ การพัฒนาหลกั สูตรดังต่อไปนี้

63

1.หลักสูตรบูรณาการ เป็นการบูรณาการส่วนประกอบของหลักสูตรเข้าด้วยกันทางด้าน วิทยาการในสาขาต่างๆ การศึกษาทางด้านจริยธรรมและสังคม โดยมุ่งให้ผู้เรียนเป็นคนดีสามารถใช้ ประโยชน์จากองค์ความรูใ้ นสาขาตา่ งๆ ให้สอดคลอ้ งกบั สภาพสงั คมอย่างมีจรยิ ธรรม

2.หลักสูตรรายบุคคล เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรเพ่ือการศึกษาตามอัตภาพ เพื่อ ตอบสนองแนวความคิดในการจัดการศึกษารายบุคคล ซ่ึงจะต้องออกแบบระบบเพ่ือ รองรับ ความกา้ วหน้าของเทคโนโลยดี ้านตา่ งๆ

3.หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์ เป็นหลักสูตรท่ีมุ่งเน้น กระบวนการในการจัดกิจกรรม และประสบการณ์ให้กับผู้เรียนเพ่ือนาไปสู่ความสาเร็จ เช่น กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน บทเรียน ประสบการณ์การเรยี นรูจ้ ากการสืบคน้ ดว้ ยตนเอง เป็นตน้

4.หลักสูตรทอ้ งถ่นิ เปน็ การพฒั นาหลกั สตู รที่ตอ้ งการกระจายการบริหารจดั การออกสู่ท้องถ่ิน เพื่อให้สอดคล้องกับศิลปวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่ของประชาชนที่มีอยู่ในแต่ละท้องถ่ิน แทนทห่ี ลักสูตรในแบบเดิมทใ่ี ชว้ ิธีการรวมศูนย์การพฒั นาอยูใ่ นสว่ นกลาง

3.2 นวัตกรรมการเรยี นการสอน เป็นการใช้วิธีระบบในการปรับปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธีสอนแบบใหม่ๆ ท่ีสามารถตอบสนองการเรียน รายบุคคล การสอนแบบผู้เรียนเปน็ ศูนย์กลาง การเรียนแบบมีส่วนร่วม การเรียนรู้แบบแก้ปัญหา การ พัฒนาวิธีสอนจาเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจัดการและสนับสนุนการเรียนการ สอน ตัวอย่างนวัตกรรมท่ีใช้ในการเรียนการสอน ได้แก่ การสอนแบบศูนย์การเรียน การใช้กระบวน การกลมุ่ สัมพันธ์ การสอนแบบเรียนรู้ร่วมกัน และการเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอรแ์ ละอินเทอร์เน็ต การวจิ ัยในชนั้ เรยี น ฯลฯ

3.3 นวัตกรรมส่ือการสอน เน่ืองจากมีความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่ายและเทคโนโลยี โทรคมนาคม ทาให้นักการศึกษาพยายามนาศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่าน้ีมาใช้ในการผลิตสื่อการ เรียนการสอนใหม่ๆ จานวนมากมาย ทั้งการเรียนด้วยตนเองการเรียนเป็นกลุ่มและการเรียนแบบ มวลชน ตลอดจนส่ือท่ีใช้เพื่อสนับสนุนการฝึกอบรม ผ่านเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ตัวอย่าง นวัตกรรมส่ือ การสอน ได้แก่ – คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน (CAI) – มลั ตมิ เี ดีย (Multimedia) – การประชุมทางไกล (Teleconference)

64

– ชดุ การสอน (Instructional Module) – วีดทิ ศั นแ์ บบมปี ฎิสมั พันธ์ (Interactive Video)

3.4 นวตั กรรมการประเมนิ ผล เป็นนวัตกรรมท่ีใช้เป็นเคร่ืองมือเพื่อการวัดผลและประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพและทา ได้อย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ด้วยการประยุกต์ใช้โปรแกร ม คอมพิวเตอร์มาสนับสนุนการวัดผล ประเมินผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์ ตัวอย่าง นวัตกรรม ทางด้านการประเมินผล ได้แก่

– การพัฒนาคลังข้อสอบ – การลงทะเบยี นผ่านทางเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ และอนิ เตอรเ์ น็ต – การใชบ้ ตั รสมาร์ทการ์ด เพ่ือการใช้บรกิ ารของสถาบันศกึ ษา – การใชค้ อมพิวเตอร์ในการตดั เกรด – ฯลฯ 3.5 นวตั กรรมการบริหารจดั การ เปน็ การใช้นวตั กรรมที่เก่ียวข้องกับการใชส้ ารสนเทศมาช่วยในการบริหารจดั การ เพ่ือการตัดสินใจของ ผู้บรหิ ารการศกึ ษาใหม้ ีความรวดเร็วทนั เหตกุ ารณ์ ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงของโลก นวัตกรรมการศึกษาท่ีนามาใช้ทางด้านการบริหารจะเกี่ยวข้องกับระบบการจัดการฐานข้อมูลใน หน่วยงานสถานศึกษา เช่น ฐานข้อมูล นักเรียน นักศึกษา ฐานข้อมูล คณะอาจารย์และบุคลากร ใน สถานศกึ ษา ด้านการเงนิ บัญชี พัสดุ และครุภัณฑ์ ฐานขอ้ มูลเหล่าน้ีต้องการออกระบบท่ีสมบูรณ์ มีความปลอดภยั ของข้อมูลสงู นอกจากนี้ยังมีความเกี่ยวข้องกับสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน เช่น ระเบียบปฏิบัติ กฎหมาย พระราชบัญญัติ ท่ีเกี่ยวกับการจัดการศึกษา ซ่ึงจะต้องมีการอบรม เก็บรักษาและออกแบบระบบการ สบื ค้นทดี่ พี อซึ่งผ้บู รหิ ารสามารถสืบค้นข้อมูลมาใชง้ านได้ทนั ทีตลอดเวลา การใช้นวัตกรรมแต่ละด้านอาจมีการผสมผสานท่ีซ้อนทับกันในบางเรื่อง ซ่ึงจาเป็นต้องมีการพัฒนา ร่วมกันไปพร้อมๆ กันหลายด้าน การพัฒนาฐานข้อมูลอาจต้องทาเป็นกลุ่มเพื่อให้สามารถนามาใช้ รว่ มกนั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 4.ประเภทเทคโนโลยีทางการศกึ ษา 1.เครื่องมือ (Hardware)ซ่ึงเป็นผลผลิตที่เกิดจากการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ และ อตุ สาหกรรม เปน็ เครื่องมอื ท่ีจะนาเสนอเน้อื หาสาระ หรือเป็นเคร่อื งมอื ทชี่ ว่ ย ในการผลิต 2.วัสดุ (Software) เป็นสว่ นที่เก็บสาระ เน้ือหาไว้ในตวั ของมันเอง อาจจะ นาเสนอโดยตวั ของ

65

มนั เองก็ได้ หรอื นาเสนอผ่านเคร่ืองมือก็ได้ 3.วิธีการเป็นเทคโนโลยีท่ีมีลักษณะเป็นนามธรรม ไม่เป็นวัตถุ แต่เป็นลักษณะการเสนอ การ

กระทา อาจใช้รวมกับเคร่ืองมือหรือวัสดุ มกั จะอยูใ่ นรูปของกิจกรรม จากวัตถุประสงค์ดังกล่าว ฝ่ายเทคโนโลยีทางการศึกษาจึงเป็นหน่วยท่ีทั้งอาจารย์ ข้าราชการและ นักศึกษา รวมท้งั ส่วนราชการภายนอกและเอกชนในท้องถิ่นใช้บริการตลอดมา แตอ่ ย่างไรก็ตามฝ่าย เทคโนโลยที างการศึกษาก็ไดจ้ ดั ลาดับความสาคัญก่อนหลัง ดงั นี้

1.บรกิ ารเพอ่ื การสอนของอาจารย์ 2.บรกิ ารเพื่อกจิ กรรมของมหาวทิ ยาลยั 3.บรกิ ารเพื่อการสนบั สนนุ วิชาการของมหาวิทยาลัย 4.บรกิ ารเพอ่ื การเรียนของนักศึกษา 5.บรกิ ารเพื่อสวสั ดกิ ารของบุคลากร 6.บรกิ ารเพอ่ื สว่ นราชการและบคุ คลทัว่ ไป 5.ความสาคัญของนวตั กรรมและเทคโนโลยีการศึกษา ความสาคัญของนวัตกรรมการศกึ ษา สรุ ินทร์ บญุ สนอง (2555) นวัตกรรมมีความสาคญั ต่อการศึกษาหลายประการ ทั้งน้ีเน่อื งจากใน โลกยคุ โลกาภิวัตต์โลกมีการเปลี่ยนแปลงในทุกด้านอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความก้าวหน้าทั้ง ด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ การศึกษาจึงจาเป็นต้องมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงจากระบบการศึกษา ทม่ี ีอยเู่ ดิม เพื่อให้ทันสมัยต่อการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสังคมทเ่ี ปล่ยี นแปลงไป อีกท้ัง เพ่ือแก้ไขปัญหาทางด้านศึกษาบางอย่างท่ีเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพเช่นเดียวกัน การเปล่ียนแปลง ทางด้านการศึกษาจึงจาเป็นต้องมีการศึกษาเกี่ยวกับนวัตกรรมการศึกษาท่ีจะนามาใช้เพ่อแก้ไขปัญหา ทางการศกึ ษาในบางเร่อง เช่น ปัญหาที่เก่ียวเนื่องกัน จานวนผูเ้ รียนท่ีมากขึ้น การพัฒนาหลักสูตรให้ ทันสมัย การผลิตและพัฒนาส่ือใหม่ ๆ ขึ้นมาเพ่ือตอบสนองการเรียนรู้ของมนุษย์ให้เพิ่มมากข้ึนด้วย ระยะเวลาท่ีสั้นลง การใช้นวัตกรรมมาประยุกต์ในระบบการบริหารจัดการด้านการศึกษาก็มีส่วนช่วย ให้การใช้ทรัพยากรการเรียนร้เู ป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เชน่ เกิดการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง กล่าวโดยสรปุ นวตั กรรมการศึกษาเกิดขึน้ ตามสาเหตใุ หม่ ๆ ดงั ต่อไปน้ี 1.)การเพิม่ ปริมาณของผู้เรียนในระดบั ชั้นประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษาเป็นไปอยา่ งรวดเร็ว ทาให้ นัก เทคโนโลยกี ารศึกษาต้องหานวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้ เพือ่ ให้สามารถสอนนกั เรียนไดม้ ากข้ึน

66

  1. การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีเป็นไปอย่างรวดเร็ว การเรียนการสอนจึงต้องตอบสนอง

    การเรียนการสอนแบบใหม่ ๆ ที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้เร็วและเรียนรู้ได้มากในเวลาจากัดนัก เทคโนโลยี การศกึ ษาจง่ ตอ้ งค้นหานวัตกรรมมาประยุกตใ์ ช้เพื่อวตั ถุประสงค์นี้

    1. การเรียนรู้ของผู้เรียนมีแนวโน้มในการเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น ตามแนวปรัชญาสมัยใหม่ที่ยึด ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง นวัตกรรมการศึกษาสามารถช่วยตอบสนองการเรียนรู้ตามอัตภาพ ตาม ความสามารถของแต่ละคน เช่นการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI (Computer Assisted instruction) การเรียนแบบศูนยก์ ารเรยี น
    2. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีโทรคมนาคม ท่ีส่วนผลักดันให้มีการใช้ นวัตกรรม การศึกษาเพม่ิ มากขึน้ เช่น เทคโนโลยีคอมพิวเตอรท์ าใหค้ อมพิวเตอร์ มขี นาดเลก็ ลง แตม่ ีประสิทธิภาพ สูงขึ้นมาก เทคโนโลยีเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต ทาให้เกิดการส่ือสารไร้พรมแดน นัก เทคโนโลยีการศึกษาจึงคิดค้นหาวิธีการใหม่ ๆ ในการประยุกต์ใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นฐาน ในการเรียนรู้ ที่เรียกว่า “Web-based Learning” ทาให้สามารถเรียนรู้ในทุกพ่ีทุกเวลาสาหรับทุก คน (Sny where, Any time for Everyone ) ถ้าหากผเู้ รยี นสามารถใช้อเิ ตอร์เน็ตได้ การใช้คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันเป็นไปอย่างกว้างขวาง ในวงการศึกษาคอมพิวเตอร์มิใช่เพียงแต่สิ่ง อานวยความสะดวกในสานักงานเท่าน้ัน แต่ยังใช้เป็นส่ือหรือเป็นเครื่องมือสร้างสื่อได้อย่างสวยงาม เหมือนจรงิ และรวดเร็วมากกว่าก่อน นักเทคโนโลยีการศึกษาจงึ ศึกษาวิจัยบทนวัตกรรมทางด้านการ ผลิตและการใช้สื่อใหม่ ๆ ตามศักยภาพของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เช่น คอมพิวเตอร์กราฟิก ระบบ มลั ติมเี ดีย วดิ โี อออนดมี านด์ การประชมุ ทางไกล อี-เสน้ น่งิ อี-เอ็ดดเู คช่ัน เป็นต้น ดร.กฤษมันต์ ไดก้ ล่าววา่ นวัตกรรมมคี วามสาคญั ตอ่ การศึกษาหลายประการ คอื

1.เพ่ือให้ทนั สมยั ตอ่ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสังคมทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป 2.เพื่อแก้ไขปัญหาทางด้านการศึกษาบางอยา่ งทีเ่ กดิ ขนึ้ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 3.เพ่ือแก้ไขปัญหาทางด้านการศึกษาในบางเรื่อง เช่น ปัญหาที่เก่ียวเนื่องกับจานวนผู้เรียนท่ี มากขึ้น การพัฒนาหลักสูตรให้ทนั สมยั การผลติ และพัฒนาสอื่ ใหม่ ๆ ขน้ึ มา 4.เพือ่ ตอบสนองการเรียนร้ขู องมนษุ ยใ์ ห้เพมิ่ มากขนึ้ ด้วยระยะเวลาทส่ี ั้นลง 5.การใชน้ วัตกรรมมาประยุกต์ในระบบการบริหารจัดการด้านการศกึ ษาก็มีส่วนชว่ ยให้การใช้ ทรัพยากรการเรยี นร้เู ป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ ทง้ั นีเ้ นอ่ื งจากในโลกยุคโลกาภวิ ัตต์โลกมกี ารเปลยี่ นแปลงในทุกดา้ นอยา่ งรวดเรว็ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง

67

ความก้าวหนา้ ทง้ั ดา้ นเทคโนโลยีและสารสนเทศ การศึกษาจึงจาเป็นต้องมีการพัฒนาเปล่ียนแปลงจาก ระบบการศึกษาท่ีมีอยู่เดิม เพื่อ ให้ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสังคมที่ เปลี่ยนแปลงไป อีกท้ังเพ่ือแก้ไขปัญหาทางด้านศึกษาบางอย่างที่เกิดข้ึนอย่างมีประสิทธิภาพ เชน่ เดียวกนั การเปล่ียนแปลงทางด้านการศึกษาจงึ จาเปน็ ต้องมีการศกึ ษาเก่ียว กับนวัตกรรมการศกึ ษา ท่ีจะนามาใช้เพ่ือแก้ไขปัญหาทางการศึกษาในบางเร่ือง เช่น ปัญหาที่เกี่ยวเน่ืองกัน จานวนผู้เรียนที่ มากข้ึน การพัฒนาหลักสตู รให้ทันสมยั การผลิตและพัฒนาสื่อใหม่ๆ ขึ้นมาเพ่ือตอบสนองการเรียนรู้ ของมนุษย์ให้เพิ่มมากขึ้นด้วยระยะเวลาที่ส้ันลง การใช้นวัตกรรมมาประยุกต์ในระบบการบริหาร จัดการด้านการศกึ ษากม็ ีส่วนชว่ ยใหก้ าร ใชท้ รัพยากรการเรียนรู้เปน็ ไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ ความสาคัญของเทคโนโลยีการศกึ ษา

1.สามารถทาให้มีการเรียนการสอน การศึกษามีความหมายมากขึ้น ผู้เรียนเรียนได้กว้างขวา มากขน้ึ เรยี นได้เร็วขึ้น เขา้ ใจไดอ้ ย่างสมบรู ณ์ ทาใหค้ รมู เี วลาให้แกน่ ักเรียนมากข้นึ

2.สามารถสนองเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ ผู้เรียนมีอิสระในการเรียนรู้ มีความ รบั ผดิ ชอบ

3.สามารถทาให้การจัดการศึกษาต้ังอยู่บนรากฐานของวิธีทางวิทยาศาสตร์ ค้นพบวิธีใหม่ๆ และสมเหตุสมผลตามความเปลยี่ นแปลงของสงั คม

4.ช่วยใหก้ ารศกึ ษามีพลังมากข้ึน 5.ทาให้การเรียนรู้อยูแ่ ค่เอื้อม 6.ทาใหเ้ กิดความเสมอภาคทางการศกึ ษา 6.กระบวนการสรา้ งและพฒั นานวัตกรรมเพ่ือการเรยี นรู้ เนาวนติ ย์ สงคราม ไดก้ ล่างถึง “ขน้ั ตอนการพฒั นานวตั กรรมหรอื วธิ กี ารจดั การเรยี นรใู้ หม้ ี คุณภาพ” เป็นอยา่ งไร ซ่ึงมี 9 ขั้นตอนดังน้ี ขั้นตอนท่ี 1. สรา้ งกรอบแนวคิดในการพฒั นา ข้นั ตอนที่ 2. วเิ คราะหห์ ลักสูตรการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ขั้นตอนที่ 3. กาหนดวัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ ขัน้ ตอนท่ี 4. กาหนดคณุ ลักษณะนวัตกรรมการเรยี นรู้ ขน้ั ตอนท่ี 5. สารวจทรัพยากรการพัฒนานวตั กรรมการเรียนรู้ ข้ันตอนท่ี 6. ออกแบบนวตั กรรมการเรยี นรู้ ขน้ั ตอนท่ี 7. วางแผนและดาเนินการพฒั นาการเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 8. ตรวจสอบ ทดลองและพฒั นานวัตกรรมการเรียนรู้

68

ข้ันตอนที่ 9. สรปุ และประเมินผลการเรียนรู้ ในแต่ละขน้ั ตอน มรี ายละเอยี ดอย่างไร บ้าง ให้ครูผสู้ อนทีจ่ ะทาการวิจยั ไดต้ ง้ั ใจศกึ ษาและทาความ เข้าใจดว้ ยตนเองใหแ้ จ่มแจ้งและจริงจัง ดงั จะได้อธิบายต่อไป 1.การสรา้ งกรอบแนวคดิ ในการพัฒนาให้พจิ ารณาองค์ประกอบที่เกย่ี วข้อง ดังนี้

1.1 ศึกษาหลักสตู ร เนอ้ื หาและเน้ือเรื่อง ทจ่ี ะสอน โดยใหพ้ จิ ารณาถึง ความจาเปน็ สภาพความ ต้องการและความสาคญั ท่ีผูส้ อนควรกาหนดขอบเขตการนาเสนอเนอื้ หาดว้ ยนวตั กรรมการเรยี นรเู้ ป็น หัวขอ้ หลกั และหวั ขอ้ รองตามลาดบั

1.2 ศกึ ษาจุดเดน่ และจุดดอ้ ยของเน้อื หาวชิ า เพ่อื ให้ทราบสภาพพนื้ ฐานเบอื้ งตน้ ด้านโครงสร้าง สาระสาคัญและรายละเอยี ดท่ีต้องดาเนนิ การปรบั ปรุงหรอื พัฒนาการเรียนรแู้ ก่ผเู้ รยี น

1.3 ศึกษาสภาพปัญหา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และระดับความต้องการในขณะน้ัน เพ่ือ นามาเป็นแนวทางในการพัฒนาและช่วยให้นวัตกรรมท่ีพัฒนาข้ึน มีความสอดคล้องและเหมาะสมกับ ปัญหาหรอื ความตอ้ งการทเ่ี กิดข้นึ

1.4 กาหนดแนวทางการพัฒนา และการประเมินคณุ ภาพ นวัตกรรมการเรยี นรู้ ที่พัฒนาข้ึนว่า ต้องการนาไปให้ผสู้ อนหรือผูเ้ รียนใช้ และหลงั จากใชน้ วตั กรรมการเรียนร้ทู ่ีพฒั นาขนึ้ ตามกระบวนการ ท่ีกาหนดไว้แล้ว ผู้เรียนจะบรรลุเป้าหมายได้อย่างไร และจะทราบได้อย่างไรว่านวัตกรรมน้ันประสบ ความสาเรจ็ ในการนาไปใชง้ านนน้ั ๆ 2.การวิเคราะห์หลักสูตรใหว้ ิเคราะห์หาองค์ประกอบ ดังนี้

2.1 วิเคราะห์โครงสร้างของเนื้อหา เพื่อศึกษาถึงองค์ประกอบของเน้ือหา ว่ามีลักษณะ โครงสร้างตามหลกั สตู รทก่ี าหนดไว้ ควรประกอบดว้ ยสาระท่เี ปน็ แกนหลักและรายละเอยี ดใดบา้ งทท่ี า ให้เนื้อหาสาระที่กาหนดขึ้นสามารถนาไปพัฒนานวัตกรรมได้อย่างเหมาะสม มีความสมบูรณ์ ทันสมัย และตรงตามวัตถปุ ระสงค์

2.2 วิเคราะห์ความยาวนานของเวลาที่ใช้ เพื่อแบ่งเนื้อหาสาระและจัดลาดับการนาเสนอ นวตั กรรมใหเ้ หมาะสมกบั ความคงทนในการเรียนรขู้ องผเู้ รียนแตล่ ะกล่มุ แตล่ ะวยั

2.3 วิเคราะห์ผเู้ รียน เพื่อพจิ ารณาคุณลกั ษณะผ้เู รียนในดา้ นต่าง ๆ เช่นวัฒนธรรม สง่ิ แวดลอ้ ม ประสบการณ์เดิม ลักษณะทางกายภาพ สตปิ ัญญา อารมณ์ ความต้องการ เจตคติ เป็นต้น ซงึ่ ทง้ั หมดนี้ เป็นส่วนหน่ึงของพัฒนาการด้านร่างกาย สติปัญญา สังคมและอารมณ์ของผู้เรียน เน่ืองจากลักษณะ ของผเู้ รยี นจะมผี ลโดยตรงต่อการพจิ ารณาเลือกพฒั นานวัตกรรมตลอดจนวธิ ีการนาเสนอใหส้ อดคล้อง และเหมาะสมกับการเรียนรู้ 3.การกาหนดวตั ถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ให้พิจารณาจากวิธีการกาหนดให้ผเู้ รยี นเกดิ พฤตกิ รรม ทีแ่ สดงถึง

69

4.การเรียนร้แู ละระดับของพฤติกรรมท่ีต้องการ ด้วยการจัดลาดบั เน้อื หา กาหนดเวลาการนาเสนอและ กจิ กรรม เพื่อใหน้ วัตกรรมสามารถถ่ายทอดพฤติกรรมและคุณลักษณะที่ต้องการใหแ้ กผ่ ู้เรียนได้ดยี ิ่งขึ้น ซ่งึ สามารถแบ่งประเภทการเรียนรู้และระดบั การเกิดพฤติกรรมการเรยี นรไู้ ด้ ดังนี้

3.1 พทุ ธิพิสัย (Cognitive) เป็นการรับขอ้ มูลและเนื้อหาความรูจ้ ากสิ่งที่ง่ายไปสู่สิง่ ยากอันเป็น การพัฒนาด้านสตปิ ัญญาของมนุษย์ ซง่ึ มี 6 ระดบั ได้แก่ 1) รแู้ ละจาได้ 2) เขา้ ใจเร่อื งราว 3) นาไปใช้ ได้ 4) วิเคราะห์ได้ 5) สังเคราะห์ได้ และ 6) ประเมินคุณคา่ ได้

3.2 ทกั ษะพิสัย (Psycho-motor) เป็นการเรียนรู้ทีแ่ สดงออกในด้านทักษะและความสามารถ ทางด้านการบังคับกลไกของร่างกายในการปฏิบัติงานต่าง ๆ มี 7 ระดับได้แก่ 1) รับรู้การกระทา 2) เตรียมความพรอ้ ม 3) ตอบสนองตามสภาพ 4) ปรับกลไกการตอบสนอง 5) ตอบสนองโดยอัตโนมตั ิ 6) ดดั แปลงกระบวนการตอบสนอง และ 7) ปรับประยกุ ต์ใชใ้ นสถานการณ์อืน่ ๆ

3.3 จิตพิสัย (Affective) เป็นการเรียนรู้ที่แสดงออกด้านทัศนคติ ความรู้สึก เพื่อพัฒนา พฤตกิ รรมหรือบุคลิกลกั ษณะของแต่ละบุคคล มี 5 ระดับ ไดแ้ ก่ 1) ต้ังใจรับรู้ 2) ยอมรับและเช่ือถือ 3) เห็นคณุ ค่า 4) จัดระบบคุณค่าได้ 5) สร้างลักษณะนสิ ยั 4.การกาหนดคุณลักษณะนวัตกรรมการเรียนรู้ให้นาเอาวัตถุประสงค์มาเป็นกรอบคุณลักษณะ โดยให้ พจิ ารณา คุณลักษณะ ดงั ต่อไปนี้

4.1 คุณลักษณะของนวัตกรรมการเรียนรู้ด้านประเภทการใช้งาน จัดอยู่ในประเภทใด เช่น นวัตกรรมประเภทเคร่ืองฉาย นวัตกรรมประเภทไม่ใช้เครื่องฉาย นวัตกรรมประเภทเครื่องเสียง เป็น ตน้

4.2 คณุ ลักษณะของนวัตกรรมการเรยี นรดู้ ้านลาดับข้ันการเรียนรู้ ควรใชน้ วัตกรรมในลาดบั ใด ตามลาดับข้ันการเรียนรู้แบบกรวยประสบการณ์ ซ่ึงมีการเรียงลาดับกิจกรรมการเรียนรู้ ท่ีช่วยให้ ผู้เรียนเกิดประสบการณ์เรียนรู้จากมากไปหาน้อยตามลาดับ ได้แก่ 1) ประสบการณ์ตรง 2) ประสบการณ์รอง 3) ประสบการณ์จากการแสดง 4) การสาธิต 5) การศึกษานอกสถานท่ี 6) นิทรรศการ 7) โทรทัศน์ 8) ภาพยนตร์ 9) การบันทึกเสียง 10) วิทยุ 11) ภาพน่ิง 12) ทัศน สญั ญาณ 13) วจนสัญญาณ

4.3 คุณลักษณะของนวัตกรรมการเรียนรู้ เนื่องจากนวัตกรรมมีประสิทธิภาพในการถ่ายทอด ประสบการณ์และช่วยให้เกิดการเรียนรู้ ได้ในระดับที่แตกต่างกัน ดังนั้นจะต้องพิจารณาคัดเลือก นวัตกรรมให้สอดคลอ้ งกับประเภทของลกั ษณะขอ้ มูลและประสทิ ธิภาพการรับรู้ของผู้เรยี น 5.การสารวจทรพั ยากรการพฒั นานวตั กรรมใหม้ ีการสารวจทรัพยากรพัฒนานวัตกรรมการเรยี นรู้ ดังต่อไปนี้

70

5.1 สารวจบคุ ลากร ควรสารวจบุคลากรทีม่ ีความเชย่ี วชาญ ผมู้ คี วามรู้ความสามารถในเร่อื ง ท่ีเกี่ยวข้อง อาจได้แก่ 1) นกั เทคโนโลยกี ารศึกษาด้านการพัฒนา การทดสอบ และทดลองใช้นวัตกรรม การเรียนรู้ 2) นักวิชาการ ด้านหลักสูตรและเนื้อหา 3) นักจิตวิทยาการศึกษา ด้านพฤติกรรมและ พัฒนาการเรยี นรู้ 4) ผสู้ อน ท่ีเป็นผูเ้ ช่ยี วชาญด้านการสอน 5) นักวัดและประเมินผล ท่ีเปน็ ผูเ้ ช่ยี วชาญ ด้านการวดั และประเมนิ ผล

5.2 สารวจเคร่ืองมือ วัสดุและอุปกรณ์ ให้สารวจก่อนดาเนินงานเพื่อเตรียมความพร้อม เก่ียวกับการนาเคร่ืองมือ วัสดุและอุปกรณ์มาใช้เพราะกระบวนการพัฒนาจาเป็นต้องใช้เคร่ืองมือและ วัสดอุ ปุ กรณ์มาใชใ้ นการดาเนินการตามขั้นตอนต่อไป รวมทงั้ จะไดค้ านวณถงึ ปริมาณหรอื งบประมาณในการดาเนินการ

5.3 สารวจงบประมาณ ให้ทาการสารวจงบประมาณเพ่ือดาเนินการ ซึ่งอาจโดยการเขียน โครงการขอรับการสนับสนุนจากโรงเรียนหรือหน่วยงานที่เก่ียวข้องหรือผู้มีเมตตาจิตที่จะให้การ อนเุ คราะห์

5.4 สารวจสถานท่ี ให้ทาการสารวจสถานทท่ี จ่ี ะนานวัตกรรมไปทดลองใชว้ ่ามีความเหมาะสม เพียงใด รวมทั้งสภาพแวดล้อมข้างเคียงด้วย 6.การออกแบบนวัตกรรมการเรยี นรู้การออกแบบนวัตกรรมการเรยี นรู้ที่ดี ต้องให้ความสาคัญเกี่ยวกับ หลักการและทฤษฏีตา่ ง ๆ ท่ีเก่ียวข้องและส่งผลกระทบต่อคณุ ภาพของนวัตกรรมการเรียนรู้พัฒนาขึ้น ใหพ้ จิ ารณาโดยยดึ หลกั การ ดังน้ี

6.1 หลักการและทฤษฏีทางจิตวิทยาการศกึ ษา ควรคานึงถึงหลกั การและทฤษฏที างจติ วทิ ยา การศกึ ษา ดังน้ี

  1. การเสริมแรง นวัตกรรมการเรยี นรู้ต้องมีอิทธิพลตอ่ การจูงใจผเู้ รยี นให้มากท่สี ดุ หรือ มากกว่าทีเ่ คยใชม้ า
  1. การให้ความรู้เฉพาะเรื่อง นวัตกรรมการเรียนรู้ต้องเป็นสงิ่ ที่มีอทิ ธิพลตอ่ การเรียนรู้ เน้อื หาสาระให้ผู้เรียนเกดิ ประสบการณก์ ารเรยี นรู้มากทสี่ ดุ
  1. ความสมั พันธ์ เน้ือหาและแรงจูงใจท้ังภายในและภายนอกของนวัตกรรมท่ดี ีมีคณุ ค่า และมีความหมายต่อผเู้ รียนตอ้ งสัมพนั ธ์กนั ในขณะจัดกิจกรรมการเรียนรู้
  1. พื้นฐานของการรบั รู้ ความประณีต ความละเอียด ความสัมพันธก์ นั และความชัดเจน ของเนอื้ หาพนื้ ฐานของการรับรู้ย่อม มีอทิ ธิพลตอ่ การพัฒนานวตั กรรมการเรียนรู้อยา่ งยิง่
  1. การใชอ้ งคป์ ระกอบ ความค้นุ เคยของผ้เู รียนและการใชเ้ ทคนิคการนาเสนอของผู้สอน

71

ต้องสอดคลอ้ งกบั ทศั นคติของผเู้ รียน เปน็ องคป์ ระกอบสาคัญของการพัฒนานวัตกรรม

  1. ความเป็นรูปธรรม นวัตกรรมการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อผู้เรียน สามารถสัมผัสได้อย่าง

เป็นรูปธรรมเปน็ สงิ่ ทค่ี วรพัฒนาใหเ้ กดิ ข้ึนอยา่ งยงิ่

  1. อัตราส่วนของเน้ือหาสาระ ในขณะนานวัตกรรมไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ต้องกาหนด

ปริมาณเนอื้ หาและจัดลาดับการนาเสนอใหม้ อี ทิ ธิพลและสง่ ผลตอ่ การเรียนรูม้ ากทสี่ ดุ

  1. การจัดตวั แปรทางการสอน นวัตกรรมการเรียนรู้ต้องสามารถจัดสภาพขององค์ประกอบ

ต่าง ๆ ให้สามารถเกิดประโยชนต์ อ่ ผ้เู รยี นเฉพาะจุดมงุ่ หมายท่ีต้องการได้มากที่สดุ

  1. ความเปน็ ผู้นาทางการสอน นวตั กรรมการเรียนรูต้ ้องช่วยใหส้ ามารถประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคนิควธิ ี

หลักการและทฤษฏีต่าง ๆ ในการจัดการเรียนรู้มาหลอมรวมกับประสบการณ์เดิม เพื่อใช้กิจกรรมการ เรียนรไู้ ดอ้ ย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณแ์ ละสภาพของผ้เู รียน

6.2 หลักการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้คานึงถึงพื้นฐานขององค์ปะกอบต่าง ๆ ที่บรรจุไว้ ในนวัตกรรม ต้องมุ่งเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ การสังเกต การจดจา มีความคิดสร้างสรรค์และ กระตือรือร้นในการปฏิบัติกิจกรรม โดยเฉพาะองค์ประกอบภายในนวัตกรรม ได้แก่ ความกลมกลืน สัดสว่ น ความสมดลุ จงั หวะ การเนน้ ความเป็นเอกภาพและความแตกต่างหรอื การตดั กนั ท่ีแสดงออกด้วยการใช้ เสน้ สี แสงและเงา

6.3 หลักการสอื่ สาร สิ่งทเี่ ราควรคานึงในการใช้นวตั กรรมการเรียนรู้ คอื การถา่ ยทอดขอ้ มูลอัน เป็นความรู้และประสบการณ์จากผู้สอนไปยังผู้เรียน ด้วยการให้ความสาคัญกับองค์ประกอบของการ สื่อสาร ได้แก่ ผู้สง่ สารหรอื แหลง่ ของสาร เนอ้ื หาเรอื่ งราวของนวัตกรรมหรอื ช่องทางการนาขา่ วสาร ไป ถึงผู้รับหรือกลุ่มเป้าหมาย ผลท่ีเกิดข้ึนและปฏิกิริยาต้องตอบสนอง ผู้เรียนท่ีสัมผัสได้ นอกจากนี้ยัง ต้องพจิ ารณารปู แบบของการสื่อสารดว้ ยว่าเปน็ การส่อื สารทางเดียวหรือการสอ่ื สารสองทางดว้ ย

6.4 หลักการเรียนรู้ ให้พิจารณาว่านวัตกรรมทพ่ี ฒั นาขึน้ ควรตอบสนองต่อการเรียนรู้ในลกั ษณะ ใดบ้าง เช่น โดยการวางเง่ือนไข ด้านภาษา ด้านทักษะ การสัมผัส การแก้ปัญหา กระบวนการทาง สงั คม การสงั เกต ความผดิ พลาด การคดั ค้านหรอื โต้แยง้ เปน็ ต้น 7.การวางแผนและดาเนนิ การพัฒนานวตั กรรมการเรยี นรู้ควรยดึ หลักการ ดังนี้

7.1 กาหนดข้ันตอนการดาเนนิ งาน ต้องกาหนดขั้นการปฏิบัติ เป้าหมาย จานวนทรัพยากรและ ระยะเวลาท่ใี ชใ้ นการดาเนินงานแต่ละขั้นตอนไว้

7.2 การดาเนินงานตามแผน ให้นาเอาทรัพยากรต่าง ๆ ที่กาหนดไว้มาดาเนนิ การพฒั นาตามแผน ที่วางไว้อย่างเป็นระบบ ซึ่งอาจเป็นคู่มือหรือแบบประเมินผล หรือปฏิทินการดาเนินงานการพัฒนา นวตั กรรมการเรียนรู้ เป็นตน้

72

8.การตรวจสอบ ทดลองและพัฒนานวตั กรรมการเรยี นรู้โดยควรยดึ หลักการ ดังนี้ 8.1 การตรวจสอบเบ้ืองตน้ เปน็ การตรวจสอบคุณภาพและความสอดคลอ้ งกับการนานวตั กรรม

การเรียนรู้ทีพ่ ัฒนาขึ้นไปใช้งานจริง โดยกลมุ่ ผูพ้ ัฒนาและผ้เู ชี่ยวชาญ ซึ่งเป็นการตรวจสอบท่ีเหมาะสม กับการวิจยั เพื่อพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นรทู้ มี่ ีระยะเวลาแก้ไขปัญหาในช่วงสัน้ ๆ

8.2 การทดลองและพัฒนา (Try – out) เป็นการตรวจสอบคุณภาพโดยนาไปใช้กับสถานการณ์ ทีแ่ ตกต่างกนั เพ่ือปรับปรงุ แก้ไขความบกพร่องที่ค้นพบจากการทดลอง ในช้ันนีจ้ ะมคี วามเหมาะสมกับ การวจิ ัยเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพการเรยี นรู้ ซงึ่ การทดลองทไ่ี ด้มาตรฐานมี 3 ลาดบั ช้นั ดงั น้ี

  1. ช้ันการทดลองแบบ 1 : 1 โดยการสังเกตพฤติกรรมของผู้สอนและผู้เรียนในขณะใช้ นวตั กรรมการเรยี นรูโ้ ดยละเอียด หากพบวา่ มสี ่วนใดขาดตกบกพรอ่ งจะต้องดาเนนิ การแก้ไขใหด้ ยี ิ่งขึ้น
  1. ขนั้ การทดลองกล่มุ เลก็ (5-10 คน) โดยการสงั เกตพฤติกรรมของผู้เรยี นท่มี ีความสามารถ ทางการเรียนแตกต่างกัน ท้ังที่เรียนอ่อน ปานกลางและเก่ง หากพบข้อผิดพลาดหรือบกพร่องก็ทาการ แกไ้ ขอกี ครั้ง อันเปน็ การตรวจสอบความเหมาะสมของนวัตกรรมการเรียนรู้
  1. ขั้นทดลองกลุ่มใหญ่ (30 คนข้ึนไป) เป็นการตรวจสอบคุณภาพจากการใช้งานใน สถานการณ์ท่ีจาลองขึ้นเช่นเดียวกับกลุ่มเล็ก ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มผู้เรียนอ่อน ปานกลางและเก่ง เชน่ เดียวกันและหากพบขอ้ บกพรอ่ งก็ใหท้ าการแก้ไขให้ดีย่ิง ๆ ข้นึ

8.3 การทดสอบประสิทธิภาพในสถานการณ์จริง หลงั จากทดลองและปรับปรุงคุณภาพจนแนใ่ จ ว่านวัตกรรมการเรียนรู้ท่ีพัฒนาขึ้นมีคุณภาพอย่างแท้จริงแล้ว ต้องทดสอบประสิทธิภาพเพื่อยืนยันว่า นวัตกรรมน้ัน ๆ เปน็ นวตั กรรมทม่ี ีมาตรฐานเช่อื ถอื ได้อกี ครง้ั หนึ่ง อนึ่งในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ด้วย การวิจัยในช้ันเรียน น้ัน ควรใช้เพียงการตรวจสอบ เบอ้ื งต้น เท่านนั้ เพือ่ ความรวมเรว็ และใหท้ ันกบั สถานการณ์ท่ีผู้เรยี นจะต้องเรียนร้ใู นเรื่องตอ่ ๆ ไป 9.การสรุปและประเมินผล ซ่ึงควรมีหลักการพิจารณา 4 ประการ ดังน้ี

9.1 มีประสิทธิภาพ (Efficiency) หลังใช้นวัตกรรมการเรียนรู้แล้ว ผู้เรียนมีพฤติกรรมการเรียนรู้ ตรงตามเป้าหมายท่ีหลกั สูตรกาหนดไว้อย่างชัดเจน

9.2 มีประสิทธิผล (Productivity) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นช่วยให้ ผู้เรียนบรรลุเปา้ หมายและวัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้ โดยผ้เู รียนจานวนมากหรือทุกคนเกดิ พฤติกรรมการ เรียนร้ผู ่านเกณฑ์ที่กาหนดไว้

9.3 มีความประหยัด (Economy) นวัตกรรมการเรียนรู้ที่พัฒนาข้ึนเมื่อนามาใช้สอนแล้วมีความ คุ้มค่ากับการลงทุน ท้ังด้านทุนทรัพย์ แรงงานและระยะเวลาท่ีสูญเสียไป ตลอดจนมีความคงทนถาวร ไมช่ ารุดเสียหายงา่ ย ๆ

73

9.4 มคี ุณลักษณะที่ดี (Goodness) นวัตกรรมการเรียนร้ทู ี่พัฒนาขึ้นต้องตรงกับวตั ถุประสงค์การ เรียนรู้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน เหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนรู้ เหมาะสมกับเน้ือหาวิชาใช้ง่าย สะดวกปลอดภัย ไม่สิ้นเปลืองประหยัดคุ้มค่า สามารถแก้ปัญหาข้อบกพร่องของเนื้อหาวิชาและ สถานการณก์ ารเรยี นรู้ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี โดยสรุปแล้ว การพัฒนาวิธีการหรือนวัตกรรมเพ่ือแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ หรือจะกล่าวส้ัน ๆ ว่า การสร้างนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้นั้นมีหลักการหรือวิธีการอย่างไรนั่นเอง ซ่ึงมีขั้นตอนการพัฒนา นวตั กรรมการเรียนรู้ 9 ข้ันตอน ดงั น้ี

1.สรา้ งกรอบแนวคดิ ในการพัฒนา 2.วิเคราะห์หลกั สตู รการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน 3.กาหนดวตั ถุประสงค์การเรียนรู้ 4.กาหนดคุณลักษณะนวัตกรรมการเรยี นรู้ 5.สารวจทรพั ยากรการพัฒนานวตั กรรม 6.ออกแบบนวัตกรรมการเรยี นรู้ 7.วางแผนและดาเนินการพฒั นานวัตกรรมการเรียนรู้ 8.ตรวจสอบ ทดลองและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ 9.สรุปและประเมินผลการเรยี นรู้ ทศิ นา แขมมณี (2548 : 423) ไดใ้ ห้หลกั การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาไว้พอสรปุ ได้ดังน้ี 1.การระบปุ ญั หา(Problem) ความคดิ ในการพัฒนานวัตกรรมนัน้ สว่ นใหญ่จะเริม่ จากการ มองเห็นปัญหา และต้องการแก้ไขปัญหานน้ั ใหป้ ระสบความสาเรจ็ อยา่ งมีคุณภาพ 2.การกาหนดจดุ มุ่งหมาย(Objective) เม่ือกาหนดปญั หาแล้วกก็ าหนดจุดม่งุ หมายเพื่อจัดทา หรือพฒั นานวัตกรรมใหม้ ีคณุ สมบัติ หรอื ลักษณะตรงตามจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้ 3.การศึกษาข้อจากัดตา่ งๆ(Constraints) ผูพ้ ัฒนานวตั กรรมทางดา้ นการเรียนการสอนต้อง ศกึ ษาขอ้ มลู ของปญั หาและข้อจากัดที่จะใชน้ วัตกรรมน้นั เพือ่ ประโยชน์ในการนาไปใชไ้ ดจ้ รงิ 4.การประดิษฐค์ ิดคน้ นวตั กรรม(Innovation) ผ้จู ดั ทาหรอื พฒั นานวัตกรรมจะต้องมีความรู้ ประสบการณ์ ความรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ ซึ่งอาจนาของเก่ามาปรับปรุง ดดั แปลง เพ่ือใชใ้ นการแกป้ ัญหา และทาให้มปี ระสทิ ธภิ าพมากขึ้น หรืออาจคดิ ค้นขึ้นมาใหม่ทั้งหมด นวัตกรรมทางการศกึ ษามีรปู แบบ แตกตา่ งกัน ข้ึนอยู่กบั ลักษณะปัญหาหรือวตั ถปุ ระสงค์ของนวัตกรรมนั้น เช่นอาจมลี ักษณะเปน็ แนวคิด หลักการ แนวทาง ระบบ รูปแบบ วิธีการ กระบวนการ เทคนคิ หรอื สิ่งประดษิ ฐ์ และเทคโนโลยี เป็น ตน้

74

5.การทดลองใช้(Experimentation) เมอื่ คิดคน้ หรือประดิษฐน์ วัตกรรมทางการศึกษาแล้ว ต้องทดลองนวตั กรรม ซง่ึ เปน็ สงิ่ จาเปน็ เพอ่ื เป็นการประเมินผลและปรบั ปรงุ แก้ไขผลการทดลองจะทา ให้ไดข้ ้อมลู นามาใช้ในการปรับปรงุ และพัฒนานวัตกรรมต่อไป ถ้าหากมกี ารทดลองใชน้ วัตกรรมหลาย ครง้ั กย็ ่อมมีความมั่นใจในประสทิ ธิภาพของนวตั กรรมนั้น

6.การเผยแพร่(Dissemination) เมื่อมั่นใจนวัตกรรมทีส่ รา้ งขึ้นมปี ระสิทธิภาพแลว้ ก็สามารถ นาไปเผยแพร่ให้เป็นที่รู้จัก กระบวนการสรา้ งและพฒั นานวตั กรรม 5 ขน้ั ตอน ข้ันตอนที่ 1 การศึกษาเอกสารแนวคดิ หลกั การ เปน็ ข้ันตอนของการสารวจว่าในทางวชิ าการมีพฒั นาเร่ืองนี้ไวว้ า่ อย่างไร มใี ครท่เี คยประสบปัญหาการ พัฒนาการเรียนรู้หรือการบริหารสถานศึกษาเช่นเดยี วกันน้ีมาก่อน และคนที่หาปัญหาเช่นเดียวกันน้มี ี แนวทางในการแก้ไขปญั หานี้ในหอ้ งเรียนของตนเองอยา่ งไร เพอื่ ให้ไดแ้ นวคดิ และแนวทางที่จะนามา แก้ปัญหาของตนเองต่อไป

1.1 การแลกเปล่ียนเรียนรูแ้ ละการแสวงหาแนวคดิ และหลักการ 1.2 การศึกษาเอกสารงานวจิ ยั และประสบการของผู้เกีย่ วข้อง ขนั้ ตอนท่ี 2 การเลอื กและการวางแผนสรา้ งนวตั กรรม โดยพจิ ารณาเลือกจากลักษณะของนวัตกรรมการเรียนรทู้ ด่ี ี ดงั นี้ 1.เป็นนวตั กรรมการเรยี นรูท้ ่ีตรงกบั ความต้องการและความจาเปน็ 2.มคี วามหน้าเชอื่ ถือและเปน็ ไปได้สูงทจ่ี ะสามารถแกป้ ัญหา และพฒั นาการเรียนร้ขู องผเู้ รียน 3.เป็นนวตั กรรมทม่ี ีแนวคดิ หรือหลกั การทางวชิ าการรองรบั จนน่าเชอ่ื ถือ 4.สามารถนาไปใช้ในหอ้ งเรียนได้จริง ใช้ไดง้ ่าย สะดวกตอ่ การใชแ้ ละการพฒั นานวัตกรรม 5.มีผลการพิสูจน์เชงิ ประจักษ์วา่ ได้ใช้ในสถานการณ์จริงแลว้ สามารถแกป้ ญั หาหรือพฒั นา คณุ ภาพการจดั การเรียนรู้ได้อยา่ งน่าเพงิ่ พอใจ ขนั้ ตอนท่ี 3 สรา้ งและพฒั นานวตั กรรม จากแผนการสร้างนวัตกรรม ครตู ้องศึกษาถงึ รายละเอียดของนวัตกรรมทจี่ ะสรา้ งและดาเนนิ การตาม ข้นั ตอน เชน่ การสร้างนวตั กรรมทเี่ ปน็ ชุดการเรยี นรู้ ครูอาจดาเนนิ การสร้างตามข้ันตอนต่อไปน้ี เชน่ – วเิ คราะหจ์ ุดประสงค์การเรียนรู้ – กาหนดและออกแบบชุดการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง – ออกแบบส่ือเสรมิ – ลงมอื ทา

75

– ตรวจสอบคณุ ภาพคร้ังแรกโดยผู้เชย่ี วชาญ – ทดลองใช้ระยะส้ันเพื่อปรบั ปรุงเน้อื หาสาระ – นาไปใชเ้ พื่อแก้ปญั หาหรอื การพัฒนาการเรียนรู้ ขน้ั ตอนที่ 4 การหาประสทิ ธภิ าพของนวตั กรรม ข้นั ตอนนี้เปน็ ขัน้ ตอนท่พี สิ ูจน์วา่ นวตั กรรมที่สร้างขน้ั น้นั เมอ่ื นาไปใช้จะได้ผลตามที่ตอ้ งการหรอื ไม่ สามารถแก้ปัญหาในชัน้ เรยี นหรอื พัฒนาผเู้ รยี นไดจ้ ริงหรือไม่การประสิทธภิ าพของนวตั กรรมมหี ลายวธิ ี เช่น 1.การตรวจสอบโดยผู้เช่ยี วชาญ 2.การบรรยายคุณภาพ 3.การคานวณคา่ รอ้ ยละของผเู้ รียน 4.การหาประสทิ ธฺ ิภาพของนวตั กรรม 5.การประเมนิ สือ่ มัลติมีเดยี ขั้นตอนที่ 5 ปรบั ปรุงนวตั กรรม หลงั จากทีห่ าประสิทธภิ าพของนวัตกรรมทีส่ รา้ งขน้ั ไม่ว่าจะโดยวธิ ีการใดก็ตามควรนาความคดิ เห็น หรอื ข้อเสนอแนะเลา่ น้นั มาปรับปรงุ นวัตกรรมให้มีคุณภาพเหมาะสมทจ่ี ะนาไปใช้ในห้องเรยี นได้มาก ขน้ึ โดยเฉพาะคา่ หาประสิทธิภาพโดยการให้ผเู้ ช่ยี วชาญช่วยตรวจและการบรรยายคุณภาพก่อนการ ทดลองใชแ้ ละหลงั การทดลองใช้กบั ผู้เรียนกลุม่ เลก็ จะทาใหไ้ ด้ข้อมลู ทีช่ ดั เจนและเป็นรายละเอียดที่จะ ปรับปรงุ นวัตกรรมได้งา่ ยขน้ึ 7.ตวั อยา่ งนวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การศกึ ษา 1.) E-learning ความหมาย e-Learning เป็นคาที่ใช้เรียกเทคโนโลยีการศึกษาแบบใหม่ ที่ยังไม่มีชื่อ ภาษาไทยท่ีแน่ชัด และมีผู้นิยามความหมายไว้หลายประการ ผศ.ดร.ถนอมพร เลาหจรัสแสง ให้คา นิยาม E-Learning หรือ Electronic Learning ว่า หมายถึง “การเรียนผ่านทางส่ืออิเลคทรอนิกส์ซ่ึง ใช้การ นาเสนอเน้ือหาทางคอมพิวเตอร์ในรูปของสื่อมัลติมีเดียได้แก่ ข้อความอิเลคทรอนิกส์ ภาพนิ่ง ภาพกราฟิก วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว ภาพสามมิติฯลฯ”เช่นเดียวกับ คุณธิดาทิตย์ จันคนา ที่ให้ความ หมายของ e-learning หมายถึงการศกึ ษาท่ีเรียนร้ผู ่านเครือข่ายอินเตอร์เนตโดยผู้เรียนรู้จะเรียนรู้ ด้วย ตัวเอง การเรียนรู้จะเป็นไปตามปัจจัยภายใต้ทฤษฎีแห่งการเรียนรู้สองประการคือ เรียนตามความรู้ ความสามารถของผู้เรียนเอง และ การตอบสนองใน ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล(เวลาที่แตล่ ะบคุ คล

76

ใช้ในการเรียนรู้)การเรียนจะกระทาผ่านสื่อบนเครือข่ายอินเตอร์เนต โดยผู้สอนจะนาเสนอข้อมูล ความรู้ให้ผูเ้ รียนได้ทาการศึกษาผ่านบริการ World Wide Web หรือเวปไซด์ โดยอาจให้มีปฏิสัมพันธ์ (สนทนา โตต้ อบ ส่งข่าวสาร) ระหวา่ งกัน จะทีม่ กี าร เรียนรู้ ใู้ นสามรปู แบบคือ ผสู้ อนกับ ผูเ้ รยี น ผเู้ รียน กับผู้เรียนอีกคนหน่ึง หรือผู้เรียนหน่ึงคนกับกลุ่มของผู้เรียน ปฏิสัมพันธ์น้ีสามารถ กระทา ผ่าน เคร่อื งมอื สองลกั ษณะคอื

  1. แบบ Real-time ไดแ้ ก่การสนทนาในลกั ษณะของการพิมพข์ ้อความแลกเปล่ียนข่าวสารกัน หรอื สง่ ในลักษณะของเสยี ง จากบรกิ ารของ Chat room
  2. แบบ Non real-time ได้แกก่ ารส่งข้อความถึงกนั ผ่านทางบรกิ าร อิเลคทรอนิคเมลล์ WebBoard News-group เปน็ ตน้

2). ห้องเรยี นเสมือนจรงิ ความหมายการเรียนการสอนที่จาลองแบบเสมือนจรงิ เปน็ นวตั กรรมทางการศึกษาทสี่ ถาบันการศึกษา ตา่ งๆ ท่ัวโลกกาลังใหค้ วามสนใจและจะขยายตัวมากข้ึนในศตวรรษที่ 21 การเรียนการสอนในระบบนี้ อาศัยสื่ออิเล็กทรอนิกส์โทรคมนาคม และเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นหลัก ที่เรียกว่า Virtual Classroom หรือ Virtual Campus บ้าง นับวา่ เป็นการพัฒนาการ บริการทางการศึกษาทางไกลชนิด ที่เรียกว่าเคาะประตูบ้านกันจริงๆ เป็นรูปแบบใหม่ของสถาบันการศึกษาในโลกยุคไร้พรมแดนมี นักวชิ าการหลายทา่ นไดใ้ ห้ความหมายของคาว่า Virtual Classroom ไว้ดังน้ี ศ. ดร. ครรชิต มาลัยวงศ์ (2540) ได้กล่าวถงึ ความหมายของห้องเรยี นเสมอื น(Virtual Classroom) วา่ หมายถึง การเรียนการสอนทผ่ี ่านระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอรท์ เ่ี ช่ือมโยงคอมพิวเตอร์ของผู้เรยี น เขา้ ไว้ กับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ของผใู้ ห้บริการเครือข่าย (File Server) และเครอื่ งคอมพิวเตอร์ผู้ให้ บริการเว็บ (Web Server) อาจเป็นการเช่ือมโยงระยะใกล้หรือระยะไกล ผ่านทางระบบการสื่อสารและ อินเทอร์เน็ตด้วย กระบวนการสอนผู้สอนจะออกแบบระบบการเรียนการสอนไว้โดยกาหนด กิจกรรม การเรยี นการสอน ส่ือต่างๆ นาเสนอผ่านเว็บไซต์ประจาวิชา จัดสร้างเว็บเพจในแตล่ ะส่วนให้ สมบูรณ์ ผู้เรียนจะเข้าสู่เว็บไซต์ประจาวิชาและดาเนินการเรียนไปตามระบบการเรียน ท่ีผู้สอนออกแบบไว้ใน ระบบเครอื ข่ายมีการจาลองสภาพแวดล้อมต่างๆ ในลกั ษณะเป็นห้องเรียนเสมือน บญุ เกือ้ ควรหาเวช (2543) ได้กลา่ วถงึ ห้องเรยี นเสมือนวา่ (Virtual Classroom) หมายถงึ การ จดั การ เรียนการสอนที่ ผู้เรียนจะเรียนท่ีไหนก็ได้ เช่น ที่บ้าน ที่ทางาน โดยไม่ต้องไปน่ังเรียนในห้อง เรียน จรงิ ๆ ทาให้ประหยดั เวลา ค่าเดินทาง และคา่ ใช้จ่ายอนื่ ๆ อีกมากมาย โดยสรปุ กลา่ วได้ว่าได้วา่ ห้องเรยี นเสมอื น (Virtual Classroom) หมายถงึ การเรียนการสอนที่กระทา ผา่ นระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ทเี่ ช่ือมโยงคอมพวิ เตอรข์ องผ้เู รยี นเขา้ ไวก้ บั เคร่ือง คอมพวิ เตอร์ของผู้

77

ให้บริการเครือข่าย (File Server) และคอมพิวเตอร์ผู้ให้บริการเว็บ (Web sever) เป็นการเรียนการ สอนที่จะมีการนัดเวลาหรือไม่นัดเวลาก็ได้ และนัดสถานที่ นัดตัวบุคคล เพื่อให้เกิด การเรียนการสอน มีการกาหนดตารางเวลาหรือตารางสอน เข้าสู่กระบวนการเรียนการสอนพร้อมๆ กันหรือไม่พร้อมกัน มีการใช้ส่ือการสอนท้ังภาพและเสียง ผู้เรียนสามารถร่วมกิจกรรมกลุ่มหรือตอบ โต้แลกเปล่ียนความ คิดเห็นกับผู้สอนหรือกับเพ่ือนร่วมช้ันได้เต็มท่ี (คล้าย chat room) ส่วนผู้สอน สามารถต้ังโปรแกรม ตดิ ตามพัฒนาการประเมินผลการเรียนรวมทง้ั ประสิทธิภาพของหลักสูตรได้ ท้ังน้ี ไม่จากดั เร่ืองสถานที่ เวลา (Any Where & Any Time) ของผเู้ รยี นในชัน้ และผู้สอน

3.) การศกึ ษาทางไกล (Distance Learning) การศึกษาทางไกลเปน็ การเปิดโอกาสทางการศึกษาใหแ้ ก่ผู้ใฝร่ ู้และใฝ่เรียนที่ไม่สามารถสละเวลาไปรับ การศึกษาจากระบบการศึกษาปกติได้เน่ืองจากภาระทางหน้าท่ีการงานหรือทางครอบครัว และเป็น การเปดิ โอกาสใหผ้ ทู้ ีต่ ้องการเพิ่มพูนหรือปรบั ปรงุ ความรทู้ ี่มีอยใู่ ห้ทันสมัยเพ่อื ประโยชนใ์ น การทางาน ความหมายของการศึกษาทางไกล (Distance Education)

การศึกษาทางไกล (Distance Education) หมายถึง ระบบการศึกษาท่ีผู้เรียนและผู้สอนอยู่ ไกลกัน แต่สามารถทาให้เกิดการเรียนรู้ได้โดยอาศัยสื่อการสอนในลักษณะของส่ือประสม กล่าวคือ การใช้ส่ือต่างๆ ร่วมกัน เช่น ตาราเรียน เทปเสียง แผนภูมิ คอมพิวเตอร์ หรือโดยการใช้อุปกรณ์ทาง โทรคมนาคม และส่อื มวลชนประเภทวทิ ยุและโทรทัศน์เขา้ มาช่วยในการแพร่กระจาย การศึกษาไปยังผู้ ท่ีปรารถนาจะเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวางทั่วทุกท้องถ่ิน การศึกษาน้ีมีทั้งในระดับต้นจนถึงระดับสูงขั้น ปรญิ ญา การศึกษาทางไกลเป็นการศึกษาวิธีหนึ่งในการศึกษาท้ังในระบบและนอกระบบโรงเรียน ที่ อาศัยสื่อ สิ่งพิมพ์ สื่ออิเลคทรอนิกส์ และส่ือบุคคล รวมทั้งระบบโทรคมนาคมในรูปแบบต่างๆ เป็น หลักการ เรยี นการสอน เพอื่ ให้ผเู้ รยี นเรยี นรไู้ ด้ดว้ ยตนเองจากส่อื เหล่านั้น และอาจมีการสอนเสริม ควบคู่ไปด้วย เพื่อให้ผู้เรียนซักถามปัญหาจากผู้สอนหรือผู้สอนเสริม โดยการศึกษานี้อาจจะอยู่ใน รูปแบบของ การศึกษาอิสระ การศึกษารายบุคคล หรือรูปแบบของมหาวิทยาลัยเปิดก็ได้ ตัวอย่างการ ศึกษา ทางไกลในประเทศไทย ได้แก่ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ซึ่งในการจัดการเรยี นการ สอนของมหาวิทยาลัยแห่งน้ีใช้ ส่ือส่ิงพิมพ์ เป็นหลัก โดยมี ส่ือเสริม คือรายการวิทยุกระจายเสียง และรายการโทรทัศน์บางวิชาอาจ มีเทปคาส เซ็ท วีดิโอเทป หรือส่ือพิเศษอย่างอ่ืนร่วมด้วย นักศึกษาจะเรียนด้วยตนเอง โดยอาศัยสื่อ เหล่าน้ีเป็น หลัก แต่มหาวิทยาลัยก็จัดการสอนเสริมเป็นคร้ังคราวซึ่งเปิดโอกาสให้ผู้สอนและผู้เรียนได้พบกันเพื่อ ซักถามขอ้ สงสยั หรือขอคาอธบิ ายเพ่ิมเตมิ

78

การสบื คน้ ขอ้ มลู สารสนเทศ

ฐานขอ้ มูล ความหมาย

ฐานขอ้ มลู (Database) มาจากคา 2 คา คือ Data และ Base Data คือ ทรพั ยากรท่ปี ระกอบดว้ ยขอ้ เท็จจรงิ ที่มปี รมิ าณมาก สามารถเพิม่ ขน้ึ และเปลย่ี นแปลงได้ ในขณะท่ี Base คอื สิ่งเป็นฐานให้สรา้ งต่อขึ้นไปได้ ดงั นั้น เมอ่ื นาคาวา่ Database มารวมกันและนามาใช้ ในวงการสารสนเทศ มีความหมายดังน้ี ฐานข้อมูล หรือ Database หมายถึง ข้อมูลท่ีมีความสัมพันธ์กันที่จัดเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์ และต้องใช้ คอมพิวเตอรใ์ นการสบื คน้ โดยแสดงผลทางจอ หรือทางเครือ่ งพิมพ์ ประเภท ประเภทของฐานข้อมลู แบ่งตามลักษณะการใช้เป็น 2 ลกั ษณะ คอื

1.ฐานข้อมูลต้นเร่ือง เป็นฐานข้อมูลท่ีให้ข้อมูลในลักษณะเนื้อหาฉบับเต็ม สามารถนาข้อมูลมาใช้ได้ ทนั ที ไดแ้ ก่ ฐานข้อมลู พระไตรปิฎก เป็นต้น

2.ฐานข้อมลู อา้ งอิง เปน็ ฐานข้อมลู ของห้องสมดุ ทจ่ี ัดทาข้ึนแบ่งเปน็ 2 ลักษณะ คอื 2.1 ฐานข้อมูลบรรณานุกรมส่ิงพิมพ์ ส่ือโสตทัศน์ และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ เป็นฐานข้อมูลที่ให้

ขอ้ มูลบรรณานุกรม เช่นหนังสอื งานวจิ ัย จะให้ข้อมูลผู้แต่ง ช่ือหนังสือ สถานท่ีพิมพ์ สานกั พิมพ์ ปีท่ีพมิ พ์ เลขหน้า ลักษณะรูปเล่ม วิทยานิพนธ์จะให้ข้อมูลชื่อผู้เขียน ช่ือวิทยานิพนธ์ คณะมหาวิทยาลัยที่จบ การศึกษา และปพี มิ พ์

2.2 ฐานข้อมูลดรรชนีมีบทความวารสาร เป็นฐานข้อมูลท่ีให้ข้อมูลบรรณานุกรมของบทความ วารสาร ไดแ้ กช่ ่ือผู้เขยี นบทความ ช่ือบทความ ช่ือวารสาร ปีท่ี ฉบบั ที่ ปพี ิมพแ์ ละเลขหน้าของบทความใน วารสาร บรกิ ารฐานข้อมูล

1.บริการสืบค้นจาก ซีดี-รอม เป็นการรวบรวมข้อมูลในลักษณะ ซีดี-รอม อาจเป็นข้อมูลทาง บรรณานุกรม หรือข้อมูลแบบเน้ือหาฉบับเต็ม ซึ่งบริษัทต่างๆ จัดทาขึ้นจาหน่ายเช่น ซีดี-รอม กฤตภาค ข่าวของศูนย์ข้อมุลมติชน ซึ่งรวบรวมข่าวสารจากหนังสือพิมพ์รายวัน ซีดี-รอม ข่าวสารประจาปีของ สานกั พิมพส์ ยามบรรณ เป็นตน้

2.บริการสืบค้นสารนิเทศผ่านส่ือทางไกล โดยผ่านระบบเครือข่าย เป็นฐานข้อมูลท่ีเช่ือมต่อกับ แหลง่ ข้อมูลอืน่ ๆ (สารนเิ ทศมไิ ด้จัดเกบ็ ทห่ี อ้ งสมดุ ที่ผใู้ ชก้ าลังค้นคว้าอย)ู่ บริษทั ตา่ งๆจดั ทาขึ้นเสนอกบั

79

หน่วยงานต่างๆ หน่วยงานใดต้องการก็ต้องสมัครเป็นสมาชิก และต้องเสียค่าสมาชิกตามอัตราที่ตก ลงกนั ตวั อยา่ งฐานข้อมลู ไดแ้ ก่ AGRIS – ฐานขอ้ มูลทางด้านการเกษตร และสาขาวิชาทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง DIALOG – ฐานข้อมูลซึ่งรวบรวมข้อมูลสารสนเทศในสาขาวิชาต่างๆ ในรูปบรรณานุกรมดรรชนี สาระสงั เขป DOA – ฐานข้อมูลท่ีให้รายละเอียดของสารนิเทศในรูปแบบบรรณานุกรม และสาระสังเขปวิทยานิพนธ์ ระดบั ปรญิ ญาโท และเอกทกุ สาขา ERIC – ฐานข้อมูลทางการศกึ ษา และสงั คมศาสตร์ THAI STANDARD – ฐานข้อมูลมาตรฐานผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรมของไทยการใช้บริการฐานข้อมูลประเภท น้ี สามารถใชบ้ รกิ ารไดจ้ ากหอ้ งสมดุ สถาบันอุดมศกึ ษาหรือจากหน่วยงานเฉพาะ

3.บริการฐานข้อมูลที่ห้องสมุดตาละแห่งจัดทาขึ้นเอง หรือโปรแกรมสาเร็จรูป เช่น ฐานข้อมูล บัตรรายการ ฐานข้อมูลดรรชนีที่ห้องสมุดมีบริการ ห้องสมุดโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เราใช้โปรแกร ม สาเร็จรูป Library 2001 ประโยชนข์ องฐานขอ้ มูล

1.จัดเก็บสารสนเทศไดใ้ นปริมาณสงู ทาใหป้ ระหยดั เนือ้ ที่ในการจัดเก็บมากกว่าเกบ็ ในกระดาษ 2.จัดเก็บสารสนเทศอย่างเป็นระบบ ทาให้เข้าถึงข้อมูลท่ีต้องการได้อย่างสะดวกรวดเร็วและมี ประสทิ ธภิ าพกว่าการค้นด้วยมือ ทั้งยังเปน็ การชว่ ยประหยดั เวลาในการคน้ หา 3.ปรับปรุงและแก้ไขสารสนเทศในฐานข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว ทาให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและ ทันสมยั เสมอ 4.เช่ือมโยงแหล่งข้อมูลท่ีอยู่ห่างไกลได้โดยระบบออนไลน์ ทาให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้อย่างกว้างขวาง โดยไมต่ อ้ งเดินทางไปค้นหาจากหลายแหลง่ 5.มีการเช่ือมโยงฐานข้อมูลเข้าระบบโทรคมนาคมท่ีทันสมัย ทาให้ฐานข้อมูลแพร่หลายและสามารถ จัดหาไดง้ า่ ยจากท่วั โลก เครือ่ งมอื ชว่ ยค้นวสั ดุสารสนเทศประเภทอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ จากความก้าวหน้าทางวิทยาการคอมพิวเตอร์และการพัฒนาทางเทคโนโลยี ทาให้การสืบค้น สารสนเทศจากบัตรรายการไม่เพียงพอ ห้องสมุดจึงได้นาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการค้นหาข้อมูล สารสนเทศ ซ่งึ ถอื เป็นเครื่องมือชว่ ยค้นประเภทอเิ ล็กทรอนิกส์ แบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ

80

เครอื่ งมือช่วยค้นวัสดสุ ารสนเทศภายในหอ้ งสมดุ

  1. เครื่องมือช่วยค้นวัสดุสารสนเทศจากฐานข้อมูลออฟไลน์ (Offline Database) เป็นการนา

คอมพิวเตอร์มาช่วยจัดเก็บสารสนเทศ จัดการระบบฐานข้อมูลและให้บริการภายในห้องสมุดเท่านั้น กล่าวคือผู้ใช้ห้องสมุดสามารถค้นข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ ท่ีไม่ได้มีการเช่ือมโยงหรือติดต่อกับห้องสมุดอ่ืน ๆ ซ่ึงผู้ใช้ห้องสมุดจะถูกจากัดแหล่งในการค้นหาข้อมูลท่ีถูกบันทึกไว้ในฮาร์ดดิสก์ของคอมพิวเตอร์ภายใน ห้องสมุดน้ัน หรือใช้ข้อมูลที่บันทึกในสื่อต่าง ๆ ที่ห้องสมุดจัดให้บริการ เช่น แผ่นดิสก์ ซีดี-รอม เป็น ฐานข้อมูลออฟไลนท์ นี่ ยิ มในปจั จบุ นั

  1. เครื่องมือช่วยค้นวัสดุสารสนเทศจากฐานข้อมลู ทรัพยากรหอ้ งสมุด เปน็ การนาคอมพิวเตอร์มาใช้ ในการสร้างฐานข้อมูลของห้องสมุดขึ้นเอง เพ่ืออานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ห้องสมุด ในการค้นหา สารสนเทศของห้องสมุดแห่งนั้น หรือกลุ่มห้องสมุดร่วมกันจัดฐานข้อมูลข้ึน เพื่อเป็นการอานวยความ สะดวกในการสืบค้นสารสนเทศในห้องสมุดกับการใช้ทรัพยากรร่วมกัน ดังน้ันห้องสมุดแต่ละแห่ง จาเป็นต้องมีโปรแกรม จัดการฐานข้อมูล เช่น โปรแกรม CDS/ISIS, INNOPAC, HORIZON, VTLS หรือ หอ้ งสมุดบางแห่งอาจพฒั นา Microsoft Access Microsoft FoxPro เปน็ ตน้ มาใชใ้ นการสรา้ งฐานข้อมลู เพื่อให้บริการสืบค้นซ่ึงรู้จักกันทั่วไปในนาม โอแพค (OPAC) หรือระบบการสืบค้นข้อมูลทรัพยากร สารสนเทศของห้องสมุดด้วยคอมพิวเตอร์ (On-line Public Access Catalog) ซ่ึงจะให้ข้อมูลทาง บรรณานุกรมแหล่งจัดเก็บและบริการสถานภาพของวัสดสุ ารสนเทศ ตลอดจนใช้ในการตรวจสอบการยืม- คืนของผ้ใู ช้ OPAC ของห้องสมดุ แต่ละแห่งอาจจะมรี ปู ลักษณ์ภายนอกที่แตกต่างกนั ไป ข้ึนอยู่กบั โปรแกรม จัดการฐานข้อมูลท่ีห้องสมุดเลือกใช้ว่าเป็น CDS/ISIS หรือ HORIZON หรือโปรแกรมใด ๆ ก็ตาม แต่ ลักษณะของการสืบค้นสารสนเทศจะมีความคล้ายคลึงกัน เน่ืองจากมีการกาหนดเขตข้อมูลสาหรับการ สืบค้นในลักษณะ Field Searching คือค้นจากผู้แต่ง (Author) ช่ือเร่ือง (Title )และหัวเร่ือง (Subject) นอกจากน้ีโปรแกรมส่วนใหญ่เน้นในการอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้มากขึ้น โดยสามารถค้นจากคา สาคัญ (Keywords) เลขหมู่ (Classification) ได้ด้วย ดังน้ันผู้ใช้จึงมีช่องทางในการสืบค้นสารสนเทศได้ สะดวก รวดเร็ว และดีกว่าการใช้บตั รรายการแบบเดิม และห้องสมุดโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระ ศรีนครินทร์ ภูเก็ต ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ใช้โปรแกรม Library 2001 เป็นเคร่ืองมือชว่ ยค้นสารสนเทศในหอ้ งสมดุ ขั้นตอนการสืบคน้ โดยโปรแกรม Library 2001

1.ผู้ใช้บริการมีข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับสารสนเทศท่ีต้องการ เช่น ทราบช่ือผู้แต่ง ช่ือเรื่อง หรือ คาค้นท่ี ครอบคลุมเน้ือหาเกีย่ วกบั หนังสืออยา่ งใดอย่างหน่ึง แล้วเปิดหน้าจอคลิกรายการที่ต้องการโดยปฏิบัตติ าม คาแนะนาท่ปี รากฏหนา้ จอ ซึ่งมีใหเ้ ลอื ก 2 แบบ คอื

81

 ค้นแบบ (ทุกฟิลด์) กรณที ราบข้อมูลอยา่ งครา่ ว ๆ  ค้นแบบ (เลือกฟิลด)์ กรณีทราบข้อมลู อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ เช่น ทราบชือ่ ผแู้ ต่ง ช่อื เรื่อง หรอื หัวเรอ่ื ง ตวั อยา่ งการคน้ แบบทุกฟิลด์ มขี น้ั ตอนดังน้ี

1. พมิ พข์ ้อความท่ีทราบหรอื ต้องการค้นหา เช่น คาวา่ “ไฟฟา้ ” 2. เมอ่ื พบขอ้ มูลทต่ี ้องการกด Yes ข้อมูลทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ไฟฟ้าทัง้ หมดก็แสดงบนหนา้ จอ 3. เลือกสารสนเทศท่ีต้องการ โดยหน้าจอจะแสดงข้อมูล ดังต่อไปน้ี เลขทะเบียนหนงั สือ,ชื่อผู้แต่ง, ชอื่ เรือ่ ง, หมวด, หมู่, ผูแ้ ตง่ , ฉบับท่ี 4. นักศึกษาจดข้อมูลท่ีบอกตาแหน่งของหนังสือในห้องสมุด ( เลขหมู่และอักษรผู้แต่ง ) แล้วนาไป ค้นหาหนังสือทช่ี น้ั หนังสือ 5. กด Esc เพ่อื ออกจากโปรแกรม ตวั อยา่ งการคน้ แบบเลือกฟิลด์ 1.กรณีทราบช่อื ผู้แต่ง คลิกท่ชี อื่ ผูแ้ ตง่ และพมิ พช์ ื่อผู้แต่งที่ทราบ 2.คลิก ทค่ี น้ หา หนา้ จอกจ็ ะแสดงรายชอ่ื หนงั สอื ของผแู้ ตง่ ท่นี ักศึกษาพมิ พ์ เข้าไป 3.จากหน้าจอ ถ้าต้องการรายละเอยี ดเกย่ี วกับหนงั สอื คลกิ ไปที่ตกลง 4.จดเลขเรียกหนงั สือ และ หาหนงั สือทช่ี ัน้ 5.กด Esc เพื่อออกจากระบบ 6.กรณที ราบชื่อเร่อื งหรือหัวเร่ือง กด็ าเนนิ การเชน่ เดียวกับการค้นหากรณที ราบช่อื ผแู้ ตง่ เครือ่ งมอื ช่วยคน้ วัสดุสารสนเทศบนเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ อินเตอร์เน็ต (Internet) มาจากคาว่า INTERNATIONAL NETWORD แปลว่าเครือข่ายนานาชาติ จัดเป็นอภิมหาเครือข่ายท่ใี หญ่ที่สุดในโลก เป็นเทคโนโลยกี ารส่ือสารข้อมูลดว้ ยเคร่ืองคอมพิวเตอร์จานวน มาก ในระบบเครือข่ายขนาดใหญ่เช่ือมโยงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทั่วโลกด้วยสายเคเบิลหรืออุปกรณ์สื่อสาร ชนิดต่าง ๆ สามารถตดิ ต่อสื่อสารกันได้ตลอดเวลา เครื่องมือค้นสารสนเทศบนอนิ เทอรเ์ นต็ การเข้าถึงสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ต ผู้ใช้สามารถเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์กับระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ตโดยอาศัยอุปกรณ์เชื่อมต่อระบบเครือข่ายและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โปรแกรมที่ใช้เป็น เครื่องมือในการเข้าถึงสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตท่ีนิยมแพร่หลายในปัจจุบัน ได้แก่ โปรแกรมค้นดู (Browsers) เชน่ Internet Explorer Netscape Communicator เป็นต้น สารสนเทศโดยทั่วไปบนเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web – WWW.) อาจเป็นได้ทั้งตัวอักษร เสียง ภาพนง่ิ ภาพเคลอื่ นไหว ภาพยนตร์ หรอื แฟ้มข้อมลู คอมพวิ เตอร์ หน่วยงานต่าง ๆในปจั จบุ ันนิยมเผยแพร่

82

ข้อมูลเหล่านี้ผ่านระบบเวิลด์ไวด์เว็บในอินเทอร์เน็ต หน่วยงานต่าง ๆ ในปัจจุบันนิยมเผยแพร่ข้อมูลเหล่า ดงั กลา่ วมี สถาบนั การศึกษา เอกชนและบคุ คลท่ัวไปทง้ั ทีเ่ ปน็ สว่ นราชการ เวบ็ ไซต์ท่พี บ WWW. มี 2 ลกั ษณะ คือ

  1. เว็บไซตเ์ ปน็ แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศทใ่ี หเ้ นอ้ื หาโดยตรง
  2. เวบ็ ไซต์ทีเ่ ปน็ แหลง่ สบื คน้ ไปยังแหล่งสารสนเทศอนื่ เช่น

Yahoo ( //www.yahoo.com/) Sanook ( //www.sanook.com/) กระบวนการสืบคน้ สารสนเทศใน WWW. Word Wide Web (WWW.) เปน็ อินเทอรเ์ น็ตในลกั ษณะ มัลติมเิ ดยี แสดงผลในรูปอักษร ภาพเคล่ือนไหวและเสียง มกี ารเชื่อมโยงข้อมูลไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว สะดวกและ ใชง้ านง่าย จงึ มีผู้ท่นี ยิ มใช้เพ่อื สืบค้นขอ้ มลู ตา่ งๆตามความต้องการของตนอยา่ งมากขนึ้ ทุกวัน การออกแบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรยี นรู้ 1.ความหมาย การออกแบบนวตั กรรมการศกึ ษา “การออกแบบนวัตกรรมการศึกษา” (Educational Innovation) คือ การนาสิ่งใหม่ๆ ซ่ึงอาจจะเป็น ความคิด วิธีการ หรือการกระทา หรือส่ิงประดิษฐ์ข้ึน ทั้งในส่วนท่ีไม่เคยมีมาก่อน หรือเป็นการพัฒนา ดัดแปลงจากสิ่งท่ีมีอยู่แต่เดิม ให้ดีขึ้น โดยอาศัยหลักการ ทฤษฎี ท่ีได้ผ่านการทดลองวิจัยจนเชื่อถือได้ นามาใช้บงั เกิดผลเพ่ิมพนู ประสิทธภิ าพต่อการเรียนรู้ (ไชยยศ เรืองสุวรรณ 2521 : 14) บรรณานกุ รม : ไชยยศ เรอื งสุวรรณ (2521). ระเบียบการออกแบบนวตั กรรม กรุงเทพฯ: การออกแบบนวัตกรรมการศึกษา หมายถงึ กระบวนการ แนวคิด หรือวธิ กี ารใหมๆ่ ทางการศกึ ษาซง่ึ อย่ใู น ระหว่างการ ทดลองท่ีจะจัดขึ้นมาอย่างมีระบบและกว้างขวางพอสมควร เพ่ือพิสูจน์ประสิทธิภาพ อันจะ นาไปส่กู ารยอมรับนาไปใช้ในระบบการศกึ ษาอยา่ งกว้างขวางต่อไป ( ทศั นา แขมมณี 2526 : 12) บรรณานุกรม : ทิศนา แขมมณี. (2547). ศาสตร์การสอน. (พมิ พค์ รง้ั ที่ 3). กรงุ เทพฯ : การออกแบบนวัตกรรมการศึกษาถกู สร้างขึน้ มา เพือ่ แกป้ ัญหาทางการศกึ ษา ( ธารงค์ บัวศรี 2527 : 44) บรรณานกุ รม : ธารงค์ บัวศรี. (2527). เทคโนโลยีการศกึ ษาและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ความคิด วิธีการใหม่ๆ ทางการเรียนการสอนซ่ึงรวมไปถึงแนวคิดวิธีปฏิบัติท่ีเก่ามาจากที่อ่ืนและมีความ เหมาะสมทีจ่ ะนามาใชใ้ นการเรียนการสอนในปจั จุบนั (ลัดดา ศุขปรีดี 2523 : 19) บรรณานุกรม : ลัดดา ศขุ ปรีดี. (2523). การวิจยั และพัฒนานวัตกรรม. กรงุ เทพฯ. เอกสารอัดสาเนา. การออกแบบนวัตกรรมการศึกษาเป็นสิ่งที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาทางการศึกษา หรือเพื่อปรับปรุง เปล่ียนแปลง สิง่ ที่มอี ย่เู ดิมให้ได้ มาตรฐานคณุ ภาพเพ่ิมขึน้ ผูส้ รา้ งนวัตกรรมจะคานึงถึงว่า นวตั กรรมท่ี

83

สร้างขนึ้ มาจะต้องดกี วา่ ของเดิมคือ จะตอ้ งได้รับประโยชน์มากกว่าเดิม หรือมคี วามสะดวกมากขึน้ ไม่ยาก ตอ่ การใช้ ตรงกับความตอ้ งการของผใู้ ช้ ( สาลี ทองธิว 2526 : 3) บรรณานกุ รม : สาลี ทองธิว (2526 ). นวตั กรรมการศึกษา. (พมิ พค์ ร้งั ที่ 5). นนทบรุ ี: SR Printing.

สรุป “การออกแบบนวัตกรรมการศึกษา” (Educational Innovation) คือ การนาส่ิงใหม่ๆ ซ่ึง อาจจะเปน็ ความคิด วธิ ีการ หรือการกระทา หรือสิ่งประดษิ ฐ์ขึน้ ทั้งในส่วนที่ไม่เคยมีมาก่อน หรอื เป็นการ พฒั นาดัดแปลงจากสิ่งท่ีมอี ยแู่ ตเ่ ดิม ให้ดีขึ้น โดยอาศยั หลักการ ทฤษฎี ท่ีไดผ้ ่านการทดลองวิจยั จนเช่ือถือ ได้นามาใช้บงั เกดิ ผลเพมิ่ พูนประสิทธิภาพตอ่ การเรยี นรู้ บรรณานุกรม : สมบูรณ์ สงวนญาติ. (2534). เทคโนโลยีทางการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: หนว่ ย ศึกษานิเทศก์ กรมการฝึกหัดคร.ู

2.ประเภทนวตั กรรมการศึกษา นวัตกรรมทางด้านหลกั สตู ร เป็นการใช้วิธีการใหมๆ่ ในการพัฒนาหลักสตู รให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ในท้องถ่ิน และตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากขึ้น เนื่องจากหลักสูตรจะต้องมีการ เปล่ียนแปลงอยู่เสมอ เพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศและของโลก นวัตกรรมทางด้านหลักสูตรได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรบูรณาการ หลักสูตร รายบุคคล หลักสตู รกิจกรรมและประสบการณ์ และหลกั สูตรท้องถ่นิ นวัตกรรมการเรียนการสอน เป็นการใช้วิธีระบบในการปรับปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธีสอนแบบใหม่ๆ ท่ี สามารถตอบสนองการเรียนรายบคุ คล การสอนแบบผู้เรยี นเปน็ ศนู ยก์ ลาง การเรียนแบบมีสว่ นรว่ ม การ เรียนรู้แบบแก้ปัญหา การพัฒนาวิธีสอนจาเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจัดการและ สนับสนุนการเรียนการสอน นวตั กรรมสอ่ื การสอน เนอ่ื งจากมีความกา้ วหน้าของเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์เครอื ขา่ ยและ

84 เทคโนโลยีโทรคมนาคม ทาให้นักการศกึ ษาพยายามนาศกั ยภาพของเทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้ในการผลิต สือ่ การเรยี นการสอนใหมๆ่ จานวนมากมาย ท้ังการเรียนดว้ ยตนเอง การเรยี นเปน็ กลมุ่ และการเรยี นแบบ มวลชน ตลอดจนส่อื ที่ใชเ้ พ่อื สนับสนุนการฝึกอบรมผา่ นเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ นวัตกรรมทางด้านการประเมินผล เป็นนวัตกรรมทใ่ี ชเ้ ปน็ เครอ่ื งมือเพ่ือการวดั ผลและประเมนิ ผลได้อยา่ งมี ประสิทธิภาพ และทาได้อย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ด้วยการ ประยกุ ต์ใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์มาสนับสนนุ การวดั ผล ประเมินผลของสถานศกึ ษา ครู อาจารย์ นวัตกรรมการบริหารจัดการ เป็นการใช้นวัตกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการบริหาร จดั การ เพ่ือการตัดสินใจของผู้บรหิ ารการศกึ ษา ให้มีความรวดเรว็ ทันเหตกุ ารณ์ ทันตอ่ การเปลีย่ นแปลง ของโลก นวัตกรรมการศึกษาท่ีนามาใช้ทางด้านการบริหารจะเก่ียวข้องกับระบบการจัดการฐานข้อมูลใน หนว่ ยงานสถานศึกษา บ ร ร ณ า นุ ก ร ม : ทิ ศ น า แ ข ม ม ณี . ( 2548). รู ป แ บ บ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น : ท า ง เ ลื อ ก ที่ หลากหลาย. กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย

3 แนวคดิ และกระบวนการออกแบบนวตั กรรมการศึกษา

85 กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้เมื่อครูได้วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือ พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนแล้ว ก็ตั้งเป้าหมายในการพัฒนาคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียนน้ันคือ กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ท่ีต้องการให้เกิดขึ้นในตัวผู้เรียนตามเป้าหมายของหลักสูตร เช่น ความสามารถในกระบวนการแกป้ ัญหา ความสามารถในทักษะกระบวนการสร้างค่านยิ ม กาหนดกรอบแนวคดิ ของกระบวนการเรียนรเู้ ม่ือได้กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้แลว้ ครูควรศึกษาคน้ คว้า หลกั วิชาการ แนวคิดทฤษฎีผลงานวิจัยที่เกยี่ วข้องกับจุดประสงคใ์ นการพัฒนาคณุ ลักษณะของผเู้ รียน และ นามาผสมผสานกับความคิดและประสบการณ์ของตนเอง กาหนดเป็นกรอบแนวคิดของกระบวนการ เรียนรู้ข้นึ เพือ่ จดั สร้างเปน็ ต้นแบบนวัตกรรมขนึ้ เพ่อื ใช้แกป้ ัญหาหรือพฒั นาการเรียนรู้ของผเู้ รยี น

สรา้ งตน้ แบบนวตั กรรม เม่ือตัดสินใจได้ว่าจะเลือกจัดทานวัตกรรมชนิดใดครูผู้ต้องศึกษาวิธีการจัดทานวัตกรรมชนิดน้ัน ๆ

อย่างละเอียด เช่น จะจัดทาบทเรียนสาเร็จรูปในรายวิชาหน่ึง ต้องศึกษาค้นคว้าวิธีการจัดทาบทเรียน สาเร็จรูปว่ามีวิธีการจัดทาอย่างไรจากเอกสารตาราที่เกี่ยวข้อง แล้วจัดทาต้นแบบบทเรียนสาเร็จรูปให้ สมบูรณ์ตามขอ้ กาหนดของวธิ ีการทาบทเรียนสาเรจ็ รปู สาหรับเครื่องมือที่ต้องใช้ในการวัดผลสัมฤทธ์ิหรือเคร่ืองมืออื่น ๆ ต้องมีการพัฒนาเคร่ืองมือตามวิธีการ ทางวิจัยด้วย การสร้างต้นแบบนวัตกรรมจะต้องนาไปทดลองใช้เพ่ือหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม ซึ่งมี ขัน้ ตอนการหาประสทิ ธิภาพนวตั กรรม กิดานนั ท์ มลทิ อง. (2540). เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

4 . การออกแบบ รายละเอียดนวตั กรรม ในการออกแบบนวตั กรรมการเรยี นรู้ประเภทสอ่ื การสอนผอู้ อกแบบต้องคานึงถึงดังนค้ี อื

1.วัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.ลักษณะผ้เู รียน ความเหมาะสมกับวยั ความสนใจ ระดับช้นั ความรู้ ทกั ษะ 3.พน้ื ฐาน และประสบการณ์ของผ้เู รียน

86

4.รูปแบบการเรยี นการสอน และการเรียนรู้ 5.ธรรมชาตเิ นอื้ หาสาระการเรยี นรู้ และวธิ ีการนาเสนอทเ่ี หมาะสม 6.สภาพการเรยี น 7.ทรัพยากรตา่ ง ๆ เช่น วัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ งบประมาณ 8.ราคานวัตกรรมทีเ่ หมาะสม โครงสรา้ งของการออกแบบนวตั กรรม ดงั น้คี ือ

1.ช่ือนวตั กรรม ผพู้ ฒั นาควรตง้ั ช่อื นวัตกรรมใหส้ อดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์ และเขา้ ใจง่าย 2.วัตถุประสงค์ของนวัตกรรม การกาหนดวัตถุประสงค์ของนวตั กรรมให้ชัดเจนส่งผลให้ การพัฒนา นวัตกรรมน้นั รวดเรว็ และมีประสทิ ธิภาพมากยิง่ ข้นึ 3.ทฤษฎี หลักการ ในการออกแบบนวัตกรรม ผู้พัฒนาต้องพิจารณาทฤษฎีการเรียนรู้เพ่ือให้ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ซ่ึงทฤษฎีการเรียนรู้ถือเป็นสิ่งสาคัญท่ีจะใช้ในการพัฒนานวัตกรรมทาง การศึกษา 4.ส่วนประกอบของนวัตกรรม ในการออกแบบนวัตกรรมผู้พัฒนาต้องพิจารณาส่วนประกอบของ นวัตกรรม ว่ามอี ะไรบา้ ง 5.การนานวัตกรรมไปใช้และประเมินผล เป็นส่วนที่แสดงความสาเร็จของนวัตกรรม ประกอบด้วย วิธีวัดผล เครื่องมือที่ใช้วัดผล และวิธีการประเมินผลประเภทของนวัตกรรมการเรียนการสอน เมื่อการ เรียนการสอนมีลักษณะเป็นระบบ ประกอบด้วยตัวป้อน (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Output) การนานวัตกรรมมาใช้จัดการเรียนการสอนจึงมีจุดหมายที่จะปรับปรุงหรือเพ่ิมประสิทธิภาพ ใหก้ ับระบบการเรียนการสอน หลกั การออกแบบสื่อเพ่ือการเรียนรู้ ประกอบด้วย 9 ข้ันตอน ดังนี้ ขน้ั ตอนที่1 เรา้ ความสนใจ (Gain Attention) ขั้นตอนท่ี2 บอกวตั ถุประสงค์ (Specify Objectives) ขั้นตอนที่ 3 ทวนความร้เู ดมิ (Activate Prior Knowledge) ข้นั ตอนท่ี4 การเสนอเนื้อหา (Present New Information) ขน้ั ตอนที่ 5 ชแี้ นวทางการเรียนรู้ (Guide Learning) ขน้ั ตอนที่6 กระตนุ้ การตอบสนอง (Elicit Responses) ข้ันตอนท่ี 7 ใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั (Provide Feedback) ข้ันตอนที่8 ทดสอบความรู้ (Access Performance) ขนั้ ตอนที่9 การจาและนาไปใช้ (Promote Retention and Transfer)

87 ดังนั้นในการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ผู้ออกแบบต้องคานึงถึงหลักการข้างต้น เพ่ือให้นวัตกรรมนั้น สามารถนามาใช้ได้ตรงตามวัตถุประสงค์หลัก คือเพ่ือช่วยแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนในการเรียนการสอน และ เพ่ิมความสามารถในการเรยี นร้ขู องผเู้ รียน ให้มีประสอทธภิ าพมากยงิ่ ขึน้ กิดานนั ท์ มลิทอง. (2540). เทคโนโลยีการศึกษาและนวตั กรรม. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั .

5.การออกแบบ เครอื่ งมอื ศึกษาคณุ ภาพ และประสิทธิภาพนวัตกรรม ขนั้ ตอนในการจัดทาเครอื่ งมือประเมินคณุ ภาพและประสิทธภิ าพของนวตั กรรมมดี ังนี้

1 ศกึ ษาวตั ถุประสงค์ของนวัตกรรมการเรียนการสอนท่สี ร้างขนึ้ 2 กาหนดเครอ่ื งมือทต่ี อ้ งใช้ประกอบการประเมินคณุ ภาพและประสิทธภิ าพ 3 ศึกษาแนวทางการสร้างเครอ่ื งมือ 4 ออกแบบและสรา้ งเคร่อื งมอื 5 ตรวจสอบและผา่ นการกล่ันกรองของผู้เชย่ี วชาญ 6 ศึกษาคุณภาพและประสทิ ธภิ าพของเครื่องมือ 7 จดั ทาเป็นเคร่อื งมือฉบับจริง พิชิต ฤทธจิ์ รูญ. (2550). การวจิ ัยและพฒั นานวตั กรรม. กรงุ เทพฯ. เอกสารอัดสาเนา.

88

การออกแบบ การศกึ ษาคุณภาพ และประสิทธิภาพนวตั กรรม ขนั้ การศึกษาคุณภาพของนวัตกรรมการเรียนการสอนดาเนินการดงั น้ี

1.กล่ันกรองเบ้ืองต้นโดยให้ผู้เรียนและครูผู้สอนกลุ่มสาระน้ันอ่านเพ่ือตรวจสอบข้อบกพร่อง และ ปรับปรงุ แก้ไขให้เหมาะสม

2.นานวัตกรรมการเรียนการสอนที่ปรับปรุงแก้ไขเรียบร้อยแล้วให้ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 3-5 คน ประเมินเพ่ือตรวจสอบคณุ ภาพ และใหข้ อ้ เสนอแนะเพ่อื ปรบั ปรงุ นวตั กรรม

3.วเิ คราะห์ผลการประเมินของผู้เชยี่ วชาญเพ่อื ดูว่ามีคุณภาพอยใู่ นระดับใด และปรับปรุงข้อบกพรอ่ ง ตามข้อเสนอแนะ จดั ทาเป็นนวัตกรรมการเรยี นการสอนที่พร้อมสาหรับนาไปทดลองใช้ การศกึ ษาประสิทธิภาพของนวตั กรรมการเรยี นการสอนดาเนนิ การดงั นี้ นานวัตกรรมการเรยี นการสอนทผี่ ่านการตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพของผู้เช่ียวชาญแล้ว ไปทดลองใช้ กับผู้เรียนท่ีมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับกลุ่มเป้าหมายของการแก้ปัญหาหรือพัฒนา ตามรูปแบบและวิธีการที่ กาหนด นาผลการทดลองมาคานวณหาประสทิ ธิภาพของนวัตกรรมการเรยี นการสอนโดยใช้สตู ร E1/E2 บรรณานุกรม : พิชติ ฤทธ์ิจรญู . (2550). การวจิ ยั และพฒั นานวัตกรรม. กรุงเทพฯ. เอกสารอัดสาเนา. 7.การออกแบบ เครอื่ งมือการนานวัตกรรมไปใช้

  1. ใช้คอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอนเพ่ือให้นักเรียน เรียนศิลปะโดยการหัดวาดรูป ใช้โปรแกรม Microsoft Word โปรแกรม Microsoft Excel โปรแกรม Microsoft PowerPoint
  1. ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ( Computer Assisted Instruction ) หรือ ( CAI ) เป็นกระบวนการ เรยี นการสอนโดยใช้คอมพวิ เตอร์นาเสนอเน้อื หาเรื่องราวต่าง ๆ มีลกั ษณะเป็นการเรียนโดยตรง และเป็น การเรยี นแบบมปี ฏสิ มั พันธ์ (Interactive)
  1. นักเรียนสามารถใช้ค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตศึกษาค้นคว้าข้อมูลในแต่ละกลุ่มสาระข่าวสาร ทางวิชาการอน่ื จากทต่ี ่าง ๆ
  1. จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic ) หรือ ( E-mail ) เพื่อใช้รับส่งข่าวสาร ข้อมูล รูปภาพ และสง่ งานใหค้ รูตรวจในแต่ละกลุม่ สาระ
  1. นาระบบ e-Learning มาใชใ้ นการเรยี นการสอนในกลมุ่ สาระวทิ ยาศาสตร์ – การใชค้ อมพิวเตอรใ์ นการตดั เกรด บรรณานกุ รม : พิชติ ฤทธิ์จรูญ. (2550). การวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรม. กรุงเทพฯ. เอกสารอัดสาเนา.

89

8.การออกแบบ การนานวัตกรรมไปใช้ 1.เพอ่ื นานวตั กรรมมาใช้แก้ปญั หาในเรื่องการเรียนการสอน เชน่ 1.1 ปญั หาเรอ่ื งวธิ กี ารสอน ปัญหาทม่ี ักพบอยู่เสมอ คอื ผูส้ อนส่วนใหญ่ยังคงยึดรปู แบบการ

สอนแบบบรรยาย โดยมีครูเป็นศูนย์กลางมากกว่าการสอนในรูปแบบอ่ืน การสอนด้วยวิธีการแบบนี้เป็น การสอนท่ีขาดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในบ้ันปลาย เพราะนอกจากจะทาให้นักเรียนเกิดความเบ่ือ หน่ายขาดความสนใจแล้ว ยังเป็นการปิดก้ันความคิดและสติปัญญาของผู้เรียนให้อยู่ในขอบเขตจากัดอีก ด้วย

1.2 ปัญหาด้านเนื้อหาวิชาบางวิชาเนื้อหามากและบางวิชามีเน้ือหาเป็นนามธรรมยากแก่ การเขา้ ใจ จงึ จาเป็นจะต้องนาเทคนิคการสอนและสื่อมาช่วย

1.3 ปัญหาด้านการวัดและประเมินผล เช่น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่าครูผู้สอนนาไปใช้ใน การปรับกิจกรรมการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึนหรือใช้ผลการประเมินเป็นข้อมูลย้อนกลับใน การพัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรยี นการสอนได้

1.4 ปญั หาเรื่องอุปกรณ์การสอน บางเน้ือหามีสื่อการสอนเป็นจานวนน้อยไม่เพียงพอต่อการ นาไปใช้เพื่อทาให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจในเน้ือหาวิชาได้ง่ายข้ึนจึงจาเป็นต้องมีการพัฒนาคิด คน้ หาเทคนิควิธกี ารสอน และผลิตสอื่ การสอนใหม่ ๆ เพือ่ นามาใชท้ าให้การเรียนการสอนบรรลุเป้าหมาย ได้ เพ่ือนานวัตกรรมไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน การสร้างองค์ความรู้ใหม่ให้มีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน และเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาโดยการนาส่ิงประดิษฐ์หรือแนวความคิดใหม่ ๆ ในการเรียนการสอนนั้น เผยแพรไ่ ปสคู่ รู – อาจารยท์ า่ นอน่ื ๆ หรือเพอื่ เปน็ ตวั อย่างอีกรูปแบบหน่งึ ให้กบั ครู – อาจารยท์ ่ีสอนในวชิ า เดียวกันได้นาแนวความคิดไปปรับปรุงใช้หรือผลิตสื่อการสอนใหม่ ๆ เพื่อนามาใช้ในการพัฒนาการเรียน การสอนต่อไป การนานวัตกรรมไปใช้เป็นผลงานทางวิชาการ นวัตกรรมการเรียนรู้นอกจากจะเป็นประโยชน์ในด้านการ ปรับปรุงและพัฒนางานหรือการจัดการเรยี นการสอนแล้ว ยังเป็นประโยชน์ ต่อการพัฒนาวิชาชีพอีกด้วย โดยผู้สร้างนวัตกรรมสามารถนาผลจากการนานวัตกรรมไปใช้เป็นผลงา นวิชาการเพ่ือขอเล่ือนวิทยฐานะ หรือปรับตาแหน่งให้สูงขนึ้ ได้ บรรณานกุ รม : วรวทิ ย์ นเิ ทศศลิ ป์. (2551). สื่อและนวตั กรรมแหง่ การเรยี นร.ู้ ปทมุ ธานี: สกายบ๊กุ ส์. 9.การออกแบบ การวัด ประเมนิ ผลการใช้นวัตกรรม ระดับคุณภาพของนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เป็นลักษณะของนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ตามตัวบ่งช้ี มี ระดับคุณภาพ 3 ระดับ คอื

90 ระดบั 3 คณุ ภาพดีมาก ( มคี ่าคะแนนระหว่าง 2.33 – 3.00 ) ระดับ 2 คุณภาพดี ( มีคา่ คะแนนระหว่าง 1.67 – 2.32 ) ระดบั 1 คณุ ภาพพอใช้ ( มคี ่าคะแนนระหวา่ ง 1.00 – 1.66 ) ในการประเมินนวัตกรรม ควรเลือกใช้วิธีการประเมินที่เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการประเมิน ดังนี้ตรวจสอบ เอกสารรายงานผลการพฒั นานวัตกรรมสังเกต และตรวจสอบขอ้ มลู จากการนาเสนอผลงานของผู้คดิ ค้น บรรณานกุ รม : วรวทิ ย์ นิเทศศิลป.์ (2551). ส่อื และนวตั กรรมแหง่ การเรียนร้.ู ปทุมธานี: สกายบุก๊ ส.์ 10.การออกแบบ การเขยี นรายงานการพฒั นานวัตกรรม

การเขยี นรายงานผลการพัฒนานวัตกรรมแบ่งการเขียนออกเป็น 5 บท ดงั น้ี บทท่ี 1 บทนา นาเสนอรายละเอียดตามหวั ขอ้ ต่อไปนี้

– ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา – วตั ถุประสงค์ของการทดลอง – สมมตุ ิฐานของการทดลอง – ขอบเขตของการทดลอง – ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะได้รบั – นยิ ามศัพท์ บทท่ี 2 การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง นาเสนอแนวคิด หลักการ ทฤษฎี และผลการวิจัยท่ี เกีย่ วขอ้ งทนี่ ามาใช้ในการพัฒนานวตั กรรม ดงั นี้ – หลกั การ แนวคิด ทฤษฎี ทเี่ กีย่ วขอ้ งกับการพฒั นานวัตกรรม – ผลการวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การพัฒนานวัตกรรม – หลักการ แนวคิด ทฤษฎี และผลการวิจัยท่ีนามาใช้พัฒนานวัตกรรมในกลุ่มสาระ/วชิ าทค่ี ิดค้นและ สรา้ งนวตั กรรมการเรียนการสอน

91

บทที่ 3 วิธดี าเนนิ การสรา้ งและทดลองใชน้ วัตกรรมการเรียนการสอน – วัตถุประสงคข์ องการทดลอง – สมมุตฐิ านของการทดลอง – ประชากรที่ใชใ้ นการทดลอง – กลุ่มตวั อยา่ งทใ่ี ช้ในการทดลอง – นวตั กรรมและเครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการทดลอง – การสร้างนวตั กรรมและเครอ่ื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการทดลอง – การดาเนินการทดลอง – การวเิ คราะห์ผลการทดลอง – สถิติท่ใี ชใ้ นการวเิ คราะหผ์ ลการทดลอง

บทที่ 4 การวิเคราะหข์ อ้ มลู และผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู เป็นการนาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล โดยนาเสนอในรูปของตาราง กราฟ หรือบรรยาย ตาม

วตั ถุประสงคข์ องการทดลองทกี่ าหนดในบทท่ี 1 บทท่ี 5 การสรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

– สรุปผลการวิจัย นาเสนอวัตถุประสงค์ ข้ันตอนการดาเนินงาน และผลการวิจัยโดยสรุป ให้เห็น ภาพของการดาเนนิ การสร้างและพัฒนานวัตกรรมตลอดแนว

– อภิปรายผลการวิจัย นาผลที่เกิดข้นึ จากการวิจัยมานาเสนอให้เห็นภาพรวมทเี่ ป็นผลน่าพอใจ สิ่งท่ี เปน็ ขอ้ สังเกต โดยอา้ งอิงหลักการ ทฤษฎแี ละผลการวจิ ัยที่สอดคล้องประกอบการอภปิ รายอย่างเหมาะสม

– ข้อเสนอแนะ นาเสนอส่ิงที่ควรดาเนนิ การต่อเนือ่ ง หรือพัฒนาผลการวิจัยอย่างต่อเนอ่ื ง ท่ีจะทาให้ เกดิ คุณภาพในการพฒั นาอยา่ งเด่นชัด เครอ่ื งมือการเรยี นรู้(Google Apps)

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

ไทยแปลอังกฤษ แปลภาษาไทย ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน แปลภาษาอาหรับ-ไทย Terjemahan ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip ศัพท์ทางทหาร military words แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 พจนานุกรมศัพท์ทหาร ศัพท์ทหาร ภาษาอังกฤษ pdf ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค lmyour แปลภาษา การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 3 ประปาไม่ไหล วันนี้ ฝยก. ย่อมาจาก หยน ห่อหมกฮวก แปลว่า เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน ่้แปลภาษา onet ม3 การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 1 ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง ตตตตลก บบบย ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คาราโอเกะ เขียน อาหรับ แปลไทย เนื้อเพลง ห่อหมกฮวก แปลไทย asus zenfone 2e กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น การประปานครหลวง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ข้อสอบภาษาอังกฤษ ม.ปลาย พร้อมเฉลย คะแนน o-net โรงเรียน ชขภใ ชื่อเต็ม ร.9 คําอ่าน ตัวอย่าง flowchart ขั้นตอนการทํางาน นยน. ย่อมาจาก ทหาร บทที่ 1 ที่มาและความสําคัญของปัญหา ฝสธ. ย่อมาจาก มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 ซับไทย มัดหัวใจเจ้าชายเย็นชา 2 เต็มเรื่อง ยศทหารบก เรียงลําดับ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 รัชกาลที่ 10 ห่อหมกฮวกไปฝากป้า คอร์ด